หลักการออกแบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graphic Design for Video
Advertisements

เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
โดย นายเศกศักดิ์ กำมณี ET.
การพัฒนาเว็บ.
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดการ Management ความหมาย
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
ระบบการจัดการฐานข้อมูล Database management system
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
Seismic method นพดล ภูมิวิเศษ เรียบเรียง.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำนักงาน 2.
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
พลังงานทดแทน Alternative Energy
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
Chapter 3 : แบบจำลองฐานข้อมูล (Data Model)
การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Protection
Principle of Marketing
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
การวิจารณ์งานศิลปะ การวิจารณ์ศิลปะในแง่สุนทรียศาสตร์ คือการประเมิน
Web Design.
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
แนวทางการออกแบบนามบัตร
4.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
การออกแบบแก้ไขการพังทลายของลาดดิน โครงการหมู่บ้านปัญญาเลคโฮม
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
การออกแบบสื่อสารสนเทศ
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
หลักศิลปะเพื่องานออกแบบจัดสวน (Principle of Art for Landscape design)
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
การทรงสร้างและการล้มลง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
บทที่ 5 การผลิตสื่อภาพนิ่งเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล
ภาพรวมของการออกแบบสิ่งพิมพ์
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
บทที่ 4 หลักการบันทึกรายการทางบัญชี.
แนวทางการปฏิบัติงานของเหล่ากาชาดจังหวัด และกิ่งกาชาดอำเภอ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
제 10장 데이터베이스.
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการออกแบบ

หลักการออกแบบ 1. หลักการเบื้องต้น (primary principle) 2. หลักการสนับสนุน (support principle)

การสร้างลำดับความสำคัญ เอกภาพ หลักการเบื้องต้น หลักการเบื้องต้น – เป็นหลักการที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมภาพรวมของผลงานออกแบบ การสร้างลำดับความสำคัญ สัดส่วน

ความเป็นเอกภาพ (unity) เป็นการจัดกลุ่มองค์ประกอบเพื่อแสดงแนวคิดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งโครงสร้างและเนื้อหา จากตัวอย่างจะเห็นว่าทั้งชื่อเรื่องและรูปภาพมีความหมายสนับสนุนกัน ในขณะที่การจัดวางมีทิศทางนำสายตาจากชื่อเรื่อง ภาพ ข้อความ และชื่อผู้แต่งตามลำดับ

การสร้างลำดับความสำคัญ (hierarchy) เป็นการทำให้ผู้รับสารได้รับข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนตามลำดับ ควบคุมให้ผู้รับสารดูภาพก่อน แล้วจึงดูที่ชื่อเรื่อง และชื่อผู้แต่งตามลำดับ

สัดส่วน (proportion) เป็นหลักที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ขนาด และรูปร่างขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาพรวมของการออกแบบ ใช้ภาพ 2 ภาพวางคู่กันในสัดส่วนที่ต่างกัน

ทิศทางและการเคลื่อนไหว ความสมดุล ขนาด ทิศทางและการเคลื่อนไหว หลักการสนับสนุน หลักการสนับสนุน เป็นหลักที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ขององค์ประกอบย่อยต่างๆ ภายในงานออกแบบ จังหวะ ลีลา และการซ้ำ ความขัดแย้ง

ขนาด (scale) โดยทั่วไปแล้วองค์ประกอบที่มีขนาดใหญ่กว่าย่อมได้รับความสนใจจากผู้รับสารก่อนองค์ประกอบที่มีขนาดเล็ก

ความสมดุล (balance) 1. สมดุลแบบสมมาตร 2. สมดุลแบบอสมมาตร 3. สมดุลแบบรัศมี

สมดุลแบบสมมาตร ด้านซ้ายกับด้านขวามีลักษณะเหมือนกันทั้ง 2 ด้าน

สมดุลแบบอสมมาตร ด้านซ้ายกับด้านขวามีลักษณะไม่เหมือนกัน แต่ก็ถ่วงน้ำหนักเท่ากัน

สมดุลแบบรัศมี เป็นการจัดวางให้องค์ประกอบแผ่ไปทุกด้านจากจุดศูนย์กลาง

ทิศทางและการเคลื่อนไหว (direction & movent) หลักการเรื่องทิศทางและการเคลื่อนไหวเป็นหลักการที่ช่วยให้การสื่อสารเป็นไปตามลำดับสอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์

โดยทั่วไปหากไม่มีการสร้างจุดเด่นขึ้นมา สายตาของผู้รับสารจะมองดูหน้ากระดาษตามแรงโน้มถ่วง คือจากบนลงล่าง และจากมองจากด้านซ้ายไปด้านขวา เป็นรูปตัว Z คือจะมองจากซ้ายบนไปขวาบน แล้วลงมายังซ้ายล่างมาจบที่ขวาล่าง

ความขัดแย้ง (contrast)

ความขัดแย้งโดยขนาด

ความขัดแย้งโดยรูปร่าง

ความขัดแย้งโดยน้ำหนักหรือความเข้ม

ความขัดแย้งโดยทิศทาง

ความขัดแย้งโดยพื้นผิว

ความขัดแย้งโดยที่เว้นว่าง

จังหวะ ลีลา และการซ้ำ (rhythm & repetition) จังหวะ และลีลาที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในการออกแบบมีอยู่ 3 ลักษณะคือ 1. แบบสม่ำเสมอ 2. แบบไม่สม่ำเสมอ 3. แบบพัฒนาการ

แบบสม่ำเสมอ เว้นช่องว่างสม่ำเสมอกัน

แบบไม่สม่ำเสมอ เว้นช่องว่างไม่สม่ำเสมอกัน คาดเดาไม่ได้

แบบพัฒนาการ เว้นช่องว่างให้มีขนาดเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างสม่ำเสมอ

ระบบกริด

ระบบกริด (grid system) ระบบกริด คือ การแบ่งซอยพื้นที่ของงานออกแบบออกเป็นพื้นที่ย่อยๆ ที่มีขนาดเล็กลงหลายๆ พื้นที่ โดยการใช้เส้นตรงในแนวตั้งและเส้นตรงในแนวนอนหลายๆ เส้นลากตัดกันเป็นมุมฉากเพื่อช่วยในการกำหนดตำแหน่งและขนาดขององค์ประกอบ

ทำไมต้องใช้ระบบกริด

ประโยชน์ของระบบกริด 1. ระบบกริดให้ความสะดวกในการทำงานซ้ำ ๆ 2. ระบบกริดให้ความสะดวกในการจัดองค์ประกอบ 3. ระบบกริดให้ความชัดเจนในการสื่อสาร

ส่วนประกอบในระบบกริด ยูนิตกริด อัลลีย์ ส่วนประกอบในระบบกริด มาร์จิน กัตเตอร์

อัลลีย์ มาร์จิน กัตเตอร์ ยูนิตกริด ยูนิตจะมีขนาดเท่ากันทั้งหมดหรือแตกต่างกันก็ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน / อัลลีย์ช่วยให้อ่านได้ง่าย / มาร์จิน คือ ส่วนประกอบที่เว้นว่างไว้โดยรอบกลุ่มยูนิตทั้งหมดโดยส่วนใหญ่จะไม่มีการวางองค์ประกอบใดๆ ในส่วนของมาร์จินนอกจากจะเป็นภาพตัดตก / กัตเตอร์ คือมาร์จินในส่วนที่เป็นที่เว้นว่างระหว่างหน้าซ้ายและหน้าขวาของสิ่งพิมพ์ มาร์จิน กัตเตอร์ ยูนิตกริด

ประเภทระบบกริด เมนูสคริปต์ กริด คอลัมน์ กริด โมดูลาร์ กริด ไฮราชิเคิล กริด

เมนูสคริปต์ กริด (Manuscript Grid) เป็นระบบ กริดที่มีโครงสร้างเรียบง่ายที่สุด โดยมีรูปแบบคือ ในหนึ่งหน้ากระดาษจะมี ยูนิตกริดสี่เหลี่ยม 1 ยูนิต โดยมีขนาดเกือบเต็มหน้า และมีมาร์จินล้อมรอบ มักใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาข้อความจำนวนมาก เช่น หนังสือ

คอลัมน์ กริด (Column Grid) มีรูปแบบคือ ในหนึ่งหน้ากระดาษจะมียูนิตกริดสี่เหลี่ยมมากกว่า 1 ยูนิต โดยแบ่งพื้นที่ด้วยเส้นทางตั้งออกเป็นคอลัมน์ มีขนาดสูงเกือบเต็มหน้า โดยความกว้างอาจจะเท่ากันหรือไม่ก็ได้ มักใช้ในสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาข้อความมาก แต่ไม่มีความต่อเนื่องมากนัก เช่น หนังสือพิมพ์

โมดูลาร์ กริด (Modular Grid) โมดูลาร์ กริด มีรูปแบบคือ ในหนึ่งหน้ากระดาษจะมียูนิตกริดสี่เหลี่ยมหลายยูนิต โดยแบ่งด้วยเส้นทั้งแนวตั้งและแนวนอน มักใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีทั้งองค์ประกอบที่เป็นตัวอักษรและภาพอยู่ด้วยกัน เช่น นิตยสาร

ไฮราชิเคิล กริด (Hierarchical Grid)

ข้อควรคำนึงในการใช้ระบบกริด 1. ระบบกริดที่มียูนิตมากเกินไป จะทำให้มีการวางองค์ประกอบอย่างสะเปะสะปะ สื่อสารภาพลักษณ์ออกมาไม่ชัดเจนเท่าที่ควร ในขณะที่ระบบกริดที่มียูนิตน้อนเกินไปจะทำให้การจัดวางองค์ประกอบซ้ำซาก 2. แม้ระบบกริดจะเครื่องมือสำคัญในการกำหนดขนาดและการจัดวางตำแหน่งองค์ประกอบต่างๆ แต่เราไม่ควรคิดว่าระบบกริดเป็นกฎตายตัว

Adobe InDesign