สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
รายงานผลการดำเนินงาน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
Service plan สาขาไต เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561 1 ตุลาคม 2560 - 27 ธันวาคม 2560 การประชุม คปสจ.ประจำเดือน ธันวาคม 2560 กลุ่มงาน NCD 29 ธค 2560

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ(DM HT) ปี 2560 Prevention & Promotion Excellence /Service Excellence  ปี 2561 เป้าหมาย ปี 2561 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ(DM HT) ปี 2560 1. NCD Clinic Plus ปฐมภูมิเปิดบริการครบทุกแห่ง (ที่มีNP) 2. Coverage HbA1c ≥ 80% Control DM 40% 3. Coverage HT=90% Control 50% 4. ตรวจไต และประเมิน CVD Risk 90% ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา 60%, เท้า 70 % 1. เร่งรัดคัดกรอง DM/ HT ผ่าน 90 % ในไตรมาส 1 2.เร่งรัดการตรวจ HbA1c , CKD, CVD, ตา, เท้า แล้วเสร็จไตรมาส 2 3.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพใน รพสต.เพิ่มครอบคลุม ทุกแห่งบูรณาการงาน ร่วมกับ รพ.สต ติดดาวในการประเมิน 4.กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตควบคุมแบบต่อเนื่องโดย HBPM การดำเนินงาน 1.คัดกรอง DM HT 90 % 2.Coverage HbA1c ≥ 40% Control DM ≥ 40% 3.Coverage HT ≥ 40% Control HT ≥ 40% 4.ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า 40% ตรวจไต, ประเมิน CVD Risk 60% Quick Win 3 เดือน สรุปประเด็นปัญหา 1.ความชุกจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.การเข้าถึงบริการ NCD Clinic มีความแออัดใน รพ.ทุติยภูมิและ ตติยภูมิ 3.การควบคุม DM HT ไม่ได้ตามเป้าหมาย 4.คัดกรองภาวะแทรกซ้อนและ CKD เท้า ตา ไม่ได้ตามเกณฑ์ 5. การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยDM/HT ในพื้นที่รับผิดชอบ ไม่ได้ตามเป้าหมาย

กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c และควบคุมได้ดี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดี่ยวกัน และควบคุมได้ดี เป็นผลงานจังหวัดราชบุรี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดียวกัน เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 3 ธันวาคม 2560

เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 กราฟที่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้ง ภายในปีเดี่ยวกัน และควบคุมได้ดี เปรียบเทียบ เดือนธันวาคม 59 – พฤษภาคม 60 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1.3 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c และการควบคุมความดันได้ดี ในระดับประเทศ เขต และรายจังหวัดพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานจังหวัดกาญจนบุรีได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ 34.09 และผลการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 15.35 ซึ่งสูงมากกว่า ภาพประเทศและเขตสุขภาพที่ 5 ใน 8 จังหวัด ส่วนราชบุรีผลงานอยู่ระดับที่ 4 เมื่อเปรียบเทียบ ภายในเขตสุขภาพที่ 5 คือ ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ 25.33 และควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 12.46 ดังภาพ ด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1.4 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจ HbA1c และการควบคุมความดันได้ดี ในระดับประเทศ เขต จังหวัดและรายอำเภอ พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน อ.สวนผึ้ง ได้รับการตรวจ HbA1c ร้อยละ 48.9 และผลการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 25.4 และ อ.วัดเพลง ตรวจ HbA1c ร้อยละ 42.5 คุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 25.4 ซึ่งผ่านผลงานตามนโยบายในไตรมาส 1 ผลการตรวจ HbA1c > 40 % ขึ้นไป ซึ่งผลงานการควบคุม ระดับน้ำตาลสูงมากกว่า ภาพประเทศ เขตสุขภาพที่ 5 และ จังหวัด ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

กราฟที่ 1.5 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้งในปีและควบคุมระดับความดันได้ดี เป้าหมาย 50 % ในระดับประเทศ เขต และรายจังหวัดพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตจังหวัดนครปฐมได้รับการตรวจวัดความดันซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 26.5 และผลการควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 14.6 ซึ่งสูงมากกว่า ภาพประเทศและเขตสุขภาพที่ 5 ใน 8 จังหวัด ส่วนราชบุรีผลงานอยู่ระดับที่ 5 เมื่อเปรียบเทียบ ภายในเขตสุขภาพที่ 5 คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจ วัดความดันซ้ำ อย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 10.9 และควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 7 ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560

เขตสุขภาพที่ 5 และจังหวัด ดังภาพด้านล่าง กราฟที่ 1.6 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ได้รับการตรวจความดันซ้ำ 2 ครั้งในปีและควบคุมระดับความดันได้ดี เป้าหมาย 50 % ในระดับประเทศ เขต จังหวัดและรายอำเภอ พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิต อ.ปากท่อได้รับการตรวจวัดความดันซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 28.6 และผลการควบคุมระดับความดันได้ดี ร้อยละ 21.1 ซึ่งสูงมากกว่าภาพประเทศ เขตสุขภาพที่ 5 และจังหวัด ดังภาพด้านล่าง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล วันที่ 27 ธันวาคม 2560