ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน
ฐานข้อมูลออนไลน์ ACS Publication ฐานข้อมูลที่รวบรวมบทความ และงานวิจัย จากวารสาร ทางด้านเคมีและวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง โดยรวบรวมจาก วารสารทั้งที่เป็นรูปเล่ม และวารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็น เอกสารฉบับเต็ม และรูปภาพ ตั้งแค่ปี 1996-ปัจจุบัน
ฐานข้อมูลออนไลน์ SpringerLink-Journal เป็น ฐานข้อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งผลิตโดย Springer Verlag ครอบคลุมทางด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 1,130 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1997- ปัจจุบัน
ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Direct ฐานข้อมูล e-journal และ E-book ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครอบคลุมสาขาวิชา Physical Sciences and Engineering, Life Sciences, Health Sciences, Social Sciences and Humanities ตั้งแต่ปี 1995-ปัจจุบัน
ฐานข้อมูลออนไลน์ ISI Web of Knowledge ฐานข้อมูล บรรณานุกรมและสาระสังเขป พร้อมการอ้างอิงและการอ้างถึง (Citation Index) ที่ครอบคลุมทางด้าน Science Citation, Social Science Citation และ Arts & Humanities Citation จากวารสารประมาณ 9,200 ชื่อ ตั้งแต่ปี 2001-ปัจจุบัน
ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลสิ่งพิมพ์ของ The Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) และ Institution of Electrical Engineers (IEE) ประกอบด้วยเอกสารมากกว่า 1.2 ล้านรายการจากสิ่งพิมพ์มากกว่า 12,000 ชื่อทางด้าน วิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง
ฐานข้อมูลออนไลน์ ACM Digital Library ฐานข้อมูลด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ จากสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จดหมายข่าว และเอกสารการประชุมวิชาการ จัดทำโดย ACM ครอบคลุมสารสนเทศ เช่น รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป Article Reviews และบทความ ฉบับเต็ม ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1985-ปัจจุบัน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Ebrara ฐานข้อมูล E-Book ในสาขาต่าง ๆ 6 สาขาวิชา (18 ชื่อเรื่อง) เช่น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การศึกษา เป็นต้น Netlibrary ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของ OCLC ในสาขาวิชาต่าง ๆ
กระบวนการและกลยุทธ์ ในการสืบค้นสารสนเทศ 07/12/61 436253
กระบวนการในการสืบค้นสารสนเทศ 1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 2. การคัดเลือกระบบสืบค้นสารสนเทศที่เหมาะสม 3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแบบแนวคิด และคำค้น 4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น 5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น
วิธีการสืบค้นสารสนเทศ Basic search Advance search
กลยุทธ์ในการสืบค้นสารสนเทศ 436253 07/12/61 กลยุทธ์ในการสืบค้นสารสนเทศนั้นเป็นกระบวนการ หลังจากที่เราเข้าใจความต้องการสารสนเทศแล้ว จะต้องกำหนดความต้องการนั้นออกมาเป็นแนวคิด และคำค้น และโยงไปสู่การกำหนดกลยุทธ์การค้น โดยที่จะไปสู่การกำหนดกลยุทธ์การค้นนั้น ผู้ค้นต้อง รู้เทคนิคที่สำคัญที่ช่วยให้การค้นประสบความสำเร็จ ได้
เทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ 1. เทคนิคการกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุมและ ศัพท์ไม่ควบคุม -ศัพท์ควบคุม เช่น หัวเรื่อง ศัพท์สัมพันธ์ -ศัพท์ไม่ควบคุม เช่น คำธรรมชาติ 07/12/61 436253
เทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ 2. เทคนิคการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วย ตรรกะบูลีน -การเชื่อมด้วย and -การเชื่อมด้วย or -การเชื่อมด้วย not 07/12/61
เทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ 3. เทคนิคการระบุตำแหน่งของคำค้น เป็นเทคนิคที่ใช้ ในการระบุระยะห่าง หรือจำนวนคำที่คั่นระหว่าง คำค้นตั้งแต่สองคำขึ้นไปที่อยู่ภายในประโยค เดียวกันหรือย่อหน้าเดียวกัน รวมทั้งการระบุ ลำดับก่อนหลังของคำค้น ทำให้การสืบค้น สารสนเทศมีความยืดหยุ่นมากขึ้น นิยมใช้กับการ สืบค้นที่เป็นภาษาอังกฤษ 07/12/61 436253
เทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ 4. เทคนิคการตัดคำ (truncation) เป็นการลดคำทาง ไวยากรณ์ให้เหลือแต่เพียงรากศัพท์ โดยอาจตัดคำ ทางซ้ายหรือทางขวา หรือทั้ง 2 ข้าง หรือตรงกลาง เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการค้นหาสารสนเทศ และ ช่วยเพิ่มจำนวนเอกสารที่ค้นได้ การตัดคำจะขึ้นอยู่ กับระบบที่ค้น ส่วนใหญ่ระบบจะนิยมตัดคำทางขวา และสัญลักษณ์ที่ใช้ในแต่ละฐานข้อมูลก็อาจจะไม่ เหมือนกัน ที่พบบ่อย ได้แก่ *$ ? # ! 07/12/61 436253
เทคนิคที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ 5. เทคนิคการระบุเขตข้อมูล เป็นการระบุว่าจะค้นจาก เขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ภาษาที่ใช้ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ได้เอกสารที่เข้าเรื่องกับข้อคำถามได้รวดเร็ว กว่าวิธีอื่นๆ และอาจลดจำนวนเอกสารลงได้
เทคนิคการสืบค้นให้ได้ผลดียิ่งขึ้น -อ่านคำถาม/สารสนเทศที่สนใจ ให้เข้าใจในแนวคิด -กำหนดแนวคิดของเรื่องที่จะสืบค้น (กำหนดconcept) -กำหนดคำค้นของแนวคิดที่กำหนดไว้ -กำหนดคำค้นอื่นๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้สืบค้นได้มากขึ้น -พิจารณาการใช้คำเชื่อม -เริ่มต้นการสืบค้น -ดูผลการสืบค้น -สืบค้นใหม่โดยใช้คำค้นอื่นๆ
การพิจารณาก่อนการสืบค้นสารสนเทศ -เลือกระบบที่จะสืบค้น โดยเลือกว่าเรื่องที่ต้องการหาสารสนเทศนั้น จะสืบค้นจากฐานข้อมูลใด เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ หรือ อินเทอร์เน็ต -เลือกฐานข้อมูล โดยในการเลือกฐานข้อมูลนั้นให้พิจารณาในด้านต่าง ๆ ดังนี้ -ขอบเขตของฐานข้อมูล -จุดเข้าถึง (Access point) เช่น ชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ หัวเรื่อง -ประเภทของทรัพยากรที่มีในฐานข้อมูล เช่น วารสาร งานวิจัย
การพิจารณาก่อนการสืบค้นสารสนเทศ -ประเภทของข้อมูลที่ได้ เช่น บรรณานุกรม เอกสารฉบับ เต็ม -เวลา คือ เวลาที่ได้รับสารสนเทศ -การปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูล
บทบาทของผู้สืบค้น การสัมภาษณ์ผู้ใช้ เขียนหัวข้อเรื่องโดยย่อ เขียนรายละเอียดของคำถาม กำหนดคำสำคัญ/คำค้น แหล่งสารสนเทศที่จะใช้สืบค้น เขียนกลยุทธ์การสืบค้น