ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
Advertisements

สาขาอุบัติเหตุ 27 กย 57.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
Service Plan in Kidney Disease
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
ขั้นตอนและระยะเวลาการบริการ
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
พยาบาลผู้ประสานงาน Nurse Coordinator
Long Term Investment Plan : D1
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
อุทธรณ์,ฎีกา.
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 1.ระบบบริการ(Service Delivery) -Prevention -มีระบบPrehospital care -ให้การวินิจฉัยและช่วยเหลือผู้บาดเจ็บตามแนวทาง ATLS -ให้การวินิจฉัยผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมอง CT Scan -ส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองไปผ่าตัดภายใน 2 ชม. -มีหอผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมองเฉพาะ -ให้การผ่าตัดการบาดเจ็บที่ไม่ซับซ้อนได้ตลอดเวลา -มีหอผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมองเฉพาะICU -ให้การฟื้นฟูผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมองและบาดเจ็บหลายระบบ -จัดทำCPG/NCPG -ดูแลผู้บาดเจ็บสังเกตอาการและสามารถส่งต่อไปยังรพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า -ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บทีได้รับการฟื้นฟูที่บ้านหรือในชุมชนร่วมกับ รพ.สต. -ให้ความรู้ในการป้องกับอุบัติเหตุแก่ประชาชน -ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการสื่อสารเพื่อส่งต่อผู้ป่วย -ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ได้รับฟื้นฟูที่บ้านหรือในชุมชนร่วมกับ รพ.สต.

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 2.กำลังคนด้านสุขภาพ (Workforce) ศัลยแพทย์ทั่วไป ประสาทศัลยแพทย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พยาบาลเฉพาะทางการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ,อุบัติเหตุ นักกายภาพบำบัด พยาบาลเฉพาะทางสาขาฟื้นฟูสภาพ EMT Trauma nurse coordinator Paramedic แพทย์ที่ผ่านการอบรม ATLSหรือผ่านการอบรมดูแลผู้บาดเจ็บขั้นสูง - พยาบาลที่ผ่านการอบรมการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ - นักกายภาพบำบัด - พยาบาลที่ผ่านการอบรม Trauma coordinator - EMT - พยาบาล - นักวิชาการสาธารณสุข - เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน - อสม.

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 3.ระบบข้อมูลข่าวสาร (Information Technology) IS ข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ ข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บ เก็บข้อมูลด้านการบาดเจ็บที่ให้บริการทั้ง 19 สาเหตุ 4. เทคโนโลยีทางการแพทย์ (Drug & Equipment) Telemedicine ในการส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บก่อนถึงรพ. เครื่องมือผ่าตัดสมอง เครื่องมือผ่าตัดทั่วไปพร้อมตลอดเวลา เครื่อง CT Scan อุปกรณ์ในการเก็บเลือดพร้อมใช้ที่ ER ระบบสื่อสารเพื่อการรับส่งผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการปฏิบัติการดูแลและการส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะและบาดเจ็บหลายระบบ มีระบบสื่อสารเพื่อการรับส่งผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบแลกเปลี่ยนเครื่องมือระดับเครือข่าย มีการ Mappingผู้ป่วย NCD

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 5.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (Financing) งบประมาณจากเขตฯ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6.ภาวะผู้นำและธรรมมาภิบาล (Good Governance) สร้างระบบงานและแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของแพทย์ ศัลยแพทย์ทั่วไป ประสาทศัลยแพทย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินและพยาบาล Mortality and morbidity Conference ระบบนิเทศงานภายในเครือข่าย การส่งเสริมการจัดตั้งเครือข่ายวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ ควรสร้างระบบงานและแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของศัลยแพทย์ มีการส่งเสริมการจัดตั้งเครือข่ายวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บ

ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 6+ การมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) - ส่งเสริม สนับสนุนและรณรงค์ให้มีการใส่หมวกกันน็อค/คาดเข็มขัดนิรภัย/บังคับใช้มาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน - พัฒนา FR ในชุมชน - ประชาสัมพันธ์การใช้ Prehospital Care (1669) - มีการสร้างภาคีเครือข่ายกับหน่วยงานอื่นๆ -รณรงค์ก่อนเทศกาลปีละ ๒ ครั้ง -ประชาสัมพันธ์หมายเลข 1669 มีการสร้างภาคีเครือข่ายกับหน่วยงานอื่นๆ ประชาสัมพันธ์หมายเลข 1669

การจัดทำแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านผู้ป่วยบาดเจ็บของกลุ่มเครือข่ายบริการ จังหวัด แพร่ โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายการให้บริการผู้บาดเจ็บสมองและบาดเจ็บหลายระบบมีบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานและส่งต่อที่รวดเร็ว ทั้งในระยะวิกฤต และระยะฟื้นฟู โครงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้บาดเจ็บสาธารณภัยกับหน่วยงานอื่น

ด้านบริการ หน่วยบริการมีการเก็บข้อมูลผู้บาดเจ็บที่มีความเชื่อมโยงกัน 1.รพ.สต.พัฒนาระบบข้อมูลผู้บาดเจ็บ19สาเหตุ 2. โรงพยาบาลทุกระดับพัฒนาระบบข้อมูลผู้บาดเจ็บจากโปรแกรมIS (Injurt surveillance) 3.กำหนดการเยี่ยมติดตามระบบข้อมูล การรายงานผู้บาดเจ็บของกลุ่มบริการ  

ด้านวิชาการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้โปรแกรม การเก็บข้อมูลผู้บาดเจ็บให้กลุ่มเครือข่ายบริการทุกระดับ 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้โปรแกรม IS (Injurt surveillance) เพื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลการบาดเจ็บเชิงลึกในโรงพยาบาลระดับ M2,S,A ในกลุ่มเครือข่ายบริการ 2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามการดำเนินงานและผลการจัดทำรายงานอุบัติเหตุในระดับพื้นที่  

โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายการให้บริการผู้บาดเจ็บสมองและบาดเจ็บหลายระบบมีบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานและส่งต่อที่รวดเร็ว ทั้งในระยะวิกฤต และระยะฟื้นฟู

ด้านบริหาร ให้กลุ่มเครือข่ายบริการ จังหวัดมีกลไกการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การใช้ทรัพยากรร่วมกัน 1.จัดให้มีกลุ่มบัญชีรายชื่อแพทย์ที่ทำงานด้านอุบัติเหตุของกลุ่มบริการ โดยมีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง 2.มีระบบ ThaiRefer เพื่อส่งต่อและปรึกษาผู้ป่วยในกรณีส่งข้ามจังหวัด 3.พัฒนาแนวทางและระบบในการส่งต่อผู้ป่วย บาดเจ็บสมองและบาดเจ็บหลายระบบ 4.จัดระบบการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บต่อเนื่องเมื่อพ้นระยะวิกฤตในโรงพยาบาลลูกข่าย 5.จัดประชุมเครือข่ายบริการผู้บาดเจ็บเพื่อพัฒนาการให้บริการร่วมกัน 6.การจัดเยี่ยมนิเทศติดตามระหว่างโรงพยาบาลแม่ข่ายและลูกข่ายในกลุ่มบริการ

ด้านบริการ จัดระบบการให้บริการผู้บาดเจ็บในกลุ่มบริการ3จังหวัดให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด 1.จัดช่องทางด่วน (fast track) ในการส่งต่อผู้ป่วยที่บาดเจ็บรุนแรง เช่น บาดเจ็บสมองและบาดเจ็บหลายระบบ ให้มาโรงพยาบาลแม่ข่ายได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2.จัดระบบให้คำปรึกษา โดยตรง ผ่านระบบinternet โดยเฉพาะการบาดเจ็บทางสมอง และการบาดเจ็บหลายระบบ 3.จัดทีมแพทย์และพยาบาลในโรงพยาบาลแม่ข่ายไปช่วยสอนการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลลูกข่าย และติดตามเป็นระยะ 4.พัฒนาคุณภาพงานบริการฉุกเฉิน (ER คุณภาพ)

ด้านวิชาการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้รับผิดชอบงานบริการผู้ป่วยบาดเจ็บของกลุ่มบริการ ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน บุคลากรด้านแพทย์ หลักสูตรสากลจากราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ 1.จัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้บาดเจ็บขั้นสูงที่เป็นสากล (ATLS) สำหรับแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุ 2.จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นที่จุดเกิดเหตุแก่บุคลากรทางการแพทย์ หลักสูตรสากลจากสมาคมโรคหัวใจ 1.หลักสูตรการกู้ชีวิตขั้นสูง (ACLS) สำหรับแพทย์ทั่วไปและศัลยแพทย์ บุคลากรด้านการพยาบาล 1.มีการอบรมพยาบาลเฉพาะทางเกี่ยวกับงานด้านอุบัติเหตุฉุกเฉิน การจัดประชุมวิชาการอื่นๆ 1.จัดประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเครือข่ายบริการผู้บาดเจ็บ 2.การจัดการอบรมการดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้นสำหรับแพทย์ใช้ทุนเพิ่มพูนทักษะ 3.การจัดทำคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บร่วมกัน

. โครงการเตรียมความพร้อมรับสาธารณภัยขนาดใหญ่ในระดับกลุ่มบริการผู้บาดเจ็บ

ด้านบริหาร มีแผนการเตรียมความพร้อมและระบบบัญชาการเหตุการณ์ทางการแพทย์เมื่อเกิดสาธารณภัยในระดับกลุ่มบริการ 1. จัดโครงสร้างการสั่งการ แนวทางการให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บและเครือข่ายบริการในกลุ่มบริการ เมื่อมีสาธารณภัยเกินขีดความสามารถของจังหวัด 2. จัดการสำรองทรัพยากรที่จำเป็นและทำบัญชีรายชื่อ รวมถึงแนวทางในการใช้ทรัพยากร 3. มีระบบสื่อสารและประสานงานที่มีประสิทธิภาพภายในจังหวัดในกลุ่มเครือข่ายบริการทั้งวิทยุสื่อสารและโทรศัพท์

ด้านบริการ มีทีมตอบโต้สาธารณภัยที่มีความพร้อม ในการตอบโต้ระดับกลุ่มบริการเมื่อเกิดสาธารณภัย 1. ส่งทีมแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเมื่อได้รับการร้องขอ 2. มีแผนการเคลื่อนย้าย ลำเลียงผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัยร่วมกันระดับจังหวัด 3. มีทีมระบบสื่อสารที่สามารถจัดระบบสื่อสารที่ช่วยเหลือกันได้ในกลุ่มบริการ โดยมีลำปาง 4. ทำการซ้อมแผนสาธารณภัยร่วมกันในระดับกลุ่มบริการ

ด้านวิชาการ จัดอบรมองค์ความรู้ด้านการจัดการสาธารณภัยให้กลุ่มเครือข่ายบริการ 1. จัดอบรมระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ให้แก่ผู้บริหารในกลุ่มเครือข่ายบริการ 2. จัดอบรมระบบการจัดการสาธารณภัยทางการแพทย์ (MIMMS) สำหรับทีมโต้ตอบสาธารณภัยทางการแพทย์ 3. อบรมสร้างทีมโต้ตอบสาธารณภัย 4. อบรมทักษะการใช้วิทยุสื่อสารสำหรับผู้ปฏิบัติงาน 5. อบรมการเป็นผู้สั่งการและคัดแยกผู้ป่วยของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ (EMD) 6. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการตรวจคัดกรองและการป้องกัน

โครงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ระหว่างสาธารณภัย กับหน่วยงานอื่น

ด้านบริหาร 1.แต่งตั้งคณะกรรมการระดับพวงบริการ ระดับ จังหวัด พร้อมหน่วยงาน อื่น เช่น ตำรวจ,ทหาร และเกษตร (มีเฮลิคอปเตอร์) 2.พัฒนาระบบการสื่อสารกับองค์กรภายนอก (มีช่องสัญญานการสื่อสารพิเศษร่วมกัน)

ด้านบริการ 1.มีการซ้อมแผนร่วมกับหน่วยงานภายนอก 2.มีช่องทางการส่งต่อผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว(ตำรวจเปิดทางจราจรให้รถ referผู้บาดเจ็บสู่โรงพยาบาลปลายทางในกรณีเร่งด่วน)

ด้านวิชาการ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้บาดเจ็บ  

THE END