ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
กติกามารยาทบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์. กิจกรรมที่ ๓ กติกาพื้นฐานในการ ใช้ไอซีที
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
รายวิชา การบริหารการศึกษา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
Supply Chain Management
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ การวิเคราะห์ปัญหา ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ ดร.สุไม บิลไบ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

หัวข้อการเรียนรู้ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศระดับบุคคล ระดับห้องเรียน และระดับสถานศึกษา มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีหรือสารสนเทศ

ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์ + งบประมาณ บุคคล สภาพแวดล้อมและสภาพการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

มารยาทและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มารยาท = กริยาวาจาที่ถือว่าสุภาพเรียบร้อย ถูกกาลเทศะ จริยธรรม = การแสดงออกทางการประพฤติ ปฏิบัติของบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงการกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง Ethics is a set of beliefs about right and wrong behaviour

บัญญัติ 10 ประการ เกี่ยวกับมารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น ไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น ไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ ไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์ ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ ที่มา: ยืน ภู่วรวรรณ

บัญญัติ 10 ประการ เกี่ยวกับมารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 8. ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. คำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมจากการกระทำของท่าน 10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท ที่มา: ยืน ภู่วรวรรณ

ข้อควรปฏิบัติในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมีมารยาท ใช้อินเทอร์เน็ตทำแต่กิจกรรมที่ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีลธรรม ไม่เป็นภัยต่อสังคม ใช้ภาษาสุภาพ เคารพและให้เกียรติผู้อื่น การสื่อสารออนไลน์ให้ยึดมาตรฐานความประพฤติเดียวกับการสื่อสารในชีวิตจริง ต้องนึกว่าเราสื่อสารกับคนที่เรารู้จัก มีตัวตน และมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ดังนั้นควรพูดดี และหวังดีต่อกัน เด็กไทยทันสื่อ:http://www.inetfoundation.or.th/icthappy/index.php?act=media

ข้อควรปฏิบัติในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมีมารยาท คิดก่อนโพสต์ หรือส่งอีเมล หากเราจะส่งข้อความ รูปภาพ เสียง หรือคลิปวิดีโอใดๆ ไปในอินเทอร์เน็ต ควรคิดทบทวนเสียก่อนว่าไม่ได้สร้างความเสียหายหรือทำร้ายใคร เพราะเมื่อส่งไปแล้วจะเรียกคืนไม่ได้ หนำซ้ำคนอื่นอาจ Copy สิ่งที่เราส่งนั้นไปตกแต่ง บิดเบือน หรือส่งต่อ สร้างความเสียหายหรือผลกระทบอย่างที่เราคาดไม่ถึง แบ่งปันความรู้และข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์ หากมีสิ่งที่ดีสามารถนำมาแบ่งปันกับเพื่อนๆ ในสังคมออนไลน์ได้ ดังคำกล่าวที่ว่า “เนื้อหาดีให้กด like เนื้อหาร้ายไม่กด share”  อย่างไรก็ตาม ต้องไม่ลืมตรวจสอบ คุณภาพของข้อมูลข่าวสารนั้นก่อนที่จะกดไลค์หรือแชร์ เด็กไทยทันสื่อ:http://www.inetfoundation.or.th/icthappy/index.php?act=media

ข้อควรปฏิบัติในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมีมารยาท ควบคุมอารมณ์ เวลาแสดงความคิดเห็นบนเวทีสาธารณะอย่างเว็บบอร์ด เป็นไปได้ที่จะมีคนเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่เราโพสต์ จงยอมรับความเห็นที่แตกต่าง ควรรู้จักยับยั้งชั่งใจหรือควบคุมอารมณ์ไม่ทะเลาะวิวาทกับคนที่มีความเห็นหรือความรู้สึกที่แตกต่างหรืออยู่คนละขั้ว เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น ไม่เปิดอ่านอีเมล์ของคนอื่น ไม่ส่งต่อข้อมูลหรือความลับของคนอื่น แม้จะได้รู้ได้เห็นหรือได้รับจากการส่งต่อ (forward) กันมาก็ตาม ไม่มีใครอยากตกเป็นที่ซุบซิบนินทา เสียหาย หรือเป็นเหยื่อของสังคม แม้แต่ตัวเราเอง เพราะฉะนั้นต้องคิดก่อนส่งต่อหรือแชร์ข้อมูล เด็กไทยทันสื่อ:http://www.inetfoundation.or.th/icthappy/index.php?act=media

จริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ 1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) เช่น แอบดูเมล์ เก็บบันทึกจราจร ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลหน่วยงาน 2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) เช่น Bank, Grade, Wiki, Blog 3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property) เช่น ทรัพย์ที่จับต้องและจับต้องไม่ได้ การคุ้มครองสิทธิ 4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) เช่น DoS, Security, Bandwidth, Priority, Method

ภัยที่มาจากการเอาเปรียบทางเทคโนโลยี (Types of Exploits) Computers as well as smartphones can be target Types of attacks: รูปแบบของการโจมตีทางเทคโนโลยี Virus Worm Trojan horse Distributed denial of service Rootkit Spam Ethics in Information Technology, Fourth Edition

Spam การส่งข้อมูลที่ผู้รับไม่ได้ร้องขอ จนทำให้ผู้รับเกิดความรำคาญ รวมถึงเป็นการก่อกวน และรบกวนผู้อื่นโดยมีจุดประสงค์ที่ต่าง ๆ กันในการส่งสแปม และสแปมนั้นสามารถทำได้ผ่านสื่อหลาย ๆ ชนิด เช่น E-mail, Instant Messaging, Webboard, SMS on Mobile phone ฯลฯ

Phishing คือเมลล์ที่มีลักษณะหลอกสอบถามข้อมูลที่เป็นความลับหรือข้อมูลที่ไม่ควรเปิดเผยสู่สาธารณธด้วยวิธีการหลอกล่อต่าง ๆ ผ่านเนื้อหาในจดหมาย เช่น หลอกถามข้อมูล Password หรือสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งหากผู้รับไม่รู้เท่าทันแล้วส่งข้อมูลกลับไป อีเมลล์ อาจเกิดความเสียหากแก่ผู้ที่ได้รับอีเมลล์ฉบับนั้น ๆ ด้วย การหลอกลวง ฉ้อฉล สถิติภัยคุกคามระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคมปี 2554 จำแนกตามประเภทภัยคุกคาม https://www.thaicert.or.th

Vishing และ Smishing: พฤติกรรมของแก๊งคอลเซ็นเตอร์ที่เข้าข่ายของ Vishing โดยตัวอักษร ‘V’ นี้มาจากคำว่า Voice ซึ่งแปลว่าเสียง ดังนั้น Vishing จึงเป็นการใช้ Voice ร่วมกับ Phishing ซึ่งมักเป็นการหลอกลวงให้ได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลผ่านทางโทรศัพท์นั่นเอง Smishing เป็นการหลอกลวงโดยใช้ SMS เช่น การได้รับ SMS อ้างว่ามาจากธนาคารเพื่อแจ้งลูกค้าว่าบัญชีของท่านถูกระงับ กรุณาติดต่อกลับที่หมายเลข ดังต่อไปนี้ ซึ่งเมื่อโทรตามหมายเลขที่ระบุไว้ ก็จะเข้าสู่กระบวนการ Vishing ต่อไป เป็นต้น

Perpetrators: ผู้กระทำผิด Hackers Crackers Malicious insider Industrial spies Cybercriminals Hacktivist Cyberterrorists

กฎหมายหรือร่างกฎหมาย 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ (บังคับใช้ 3 เม.ย.45) 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ 3. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 4. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 6. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียม

ประเทศไทยมีการจัดทำกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นโครงสร้างพื้น ฐานในการพัฒนาประเทศซึ่งดำเนินการโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในฐานะสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีแห่งชาติ เป็นแกนกลางในการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน โดยมีกรอบสาระของกฎหมายในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law) สาระของกฎหมายนี้มุ่งเน้นให้การคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัว ไม่ให้มีการนำข้อมูลของบุคคลไปใช้ในทางมิชอบ

2. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Relate Crime) วัตถุประสงค์ของกฎหมายนี้มุ่งเน้นให้การคุ้มครองสังคมจากความผิดที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร 3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) วัตถุประสงค์ของกฎหมายนี้มุ่งเน้นให้การคุ้มครองการทำธุรกรรมผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. กฎหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) วัตถุประสงค์ของกฎหมายนี้เพื่ออำนวยการให้มีการทำนิติกรรมสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ได้

5. กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature Law) วัตถุประสงค์ของกฎหมายนี้เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่คู่กรณีในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการลงลายมือชื่อ 6. กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer) วัตถุประสงค์ของกฎหมายนี้ก็เพื่อให้การคุ้มครองผู้บริโภคด้านการโอนเงิน 7. กฎหมายโทรคมนาคม (Telecommunication Law) วัตถุประสงค์เพื่อจัดการเปิดเสรีให้มีการแข่งขันที่เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ อนุญาตให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการโทรคมนาคมได้อย่างทั่วถึง

8. กฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. กฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับระบบอินเทอร์เน็ต 10. กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์