ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลยุทธ์ R2R เพื่อการพัฒนา บุคลากรสาธารณสุข อย่างมีประสิทธิภาพ และ ยั่งยืน โดย รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 22 ธันวาคม 2557
กลยุทธ์ R2R คือ การพัฒนา งานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย อย่างมีความสุข ยิ่งๆขึ้น ตลอดไป
หัวข้อการเรียนรู้ในบ่ายวันนี้ ๑.ทำความเข้าใจพื้นฐาน เกี่ยวกับ R2R ๒.ฝึกปฏิบัติการ ทำ R2R แท้และดี ของพวกเรา เป็น Paper วิจัย ที่มีคุณค่าสูง อย่างรวดเร็ว และ ไม่ยุ่งยาก ๓.Brainstorm ในการทำ R2R ในบริบทของพวกเรา อย่างมีความสุข และ มีประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ๔.อภิปราย ซักถาม ไขข้อข้องใจ เพิ่มความเข้าใจ ถอดบทเรียนการเรียนรู้ และ ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน R2R ที่ดี ต่อๆไป อย่างยั่งยืน สิ่งที่พวกเราจะได้รับ คือ ผลงาน R2R เรื่องที่ ๑ เบื้องต้น และ แนวทางการพัฒนา R2R ของพวกเรา
R2R คือ กระบวนการ การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย ในการทำให้ การทำงานตามภารกิจหลัก ที่พวกเราทำอยู่ทุกๆวัน เป็นผลงานวิจัย ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา งาน / หน่วยงาน / องค์การ อย่างน่าภาคภูมิใจ และ มีความสุข ยิ่งๆขึ้น ตลอดไป
งานตามภาระกิจหลัก สู่ ผลงานวิชาการ R2A & R2R & R2E (งานประจำ) การฝึกอบรมลูกไก่ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R งานตามภาระกิจหลัก (งานประจำ) สู่ ผลงานวิชาการ R2A & R2R & R2E R2 = Routine to A = Academic R = Research E = Excellence รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย Concept หลัก และ เป้าหมาย ของ R2R CI (Continuous Improvement) ในงาน “ทุกงาน” ที่พวกเราทำ คือ รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย Concept หลักที่ 1. พวกเรา ได้ “ทำ” วิจัย ในงานที่พวกเรา “ทำ” ตั้งแต่วันแรก ที่พวกเราเข้าทำงาน และ ยังคงทำอยู่ และ ตั้งใจที่จะทำต่อไป..... คือ ทำ R2R อยู่ทุกวัน ตลอดเวลา พิจารณาจาก พวกเราใช้ Brain ในการทำงาน รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย Concept หลักที่ 2. งานทุกงาน ที่พวกเรา“ทำ” อยู่ในปัจจุบัน ได้รับการ “ทำ R2R” โดย พวกเรา ที่ได้ทำงานนี้ มาตั้งแต่วันแรก ที่งานนี้เกิดขึ้น ในหน่วยงาน ของพวกเรา ได้ทำต่อเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้ และ ตั้งใจที่จะทำต่อๆไป อย่างไม่สิ้นสุด รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
พวกเรา ทำวิจัยมาแล้ว กี่เรื่อง?
ในแต่ละครั้ง ที่พวกเราตั้งใจ ทำงาน อย่างมีคุณภาพ ในครั้งนั้น พวกเราได้ทำวิจัย เสร็จไปแล้ว 1 เรื่อง ! By Brain
โครงการฝึกอบรม Training for the Trainers in Research Development หมวด ๗ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R งานวิจัย ทำเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้เขียนผลงานวิจัย เผยแพร่ในวารสาร ให้ทราบทั่วกัน เปรียบเสมือน ไม่ได้ทำ! สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิจัย ที่ไม่เกิดการพัฒนางาน R2R เป็น วิจัย (Research) ไม่ใช่ แบบการวิจัย (Research Design) การวิจัย ที่ไม่เกิดการพัฒนางาน เป็น R2R ปลอม (Pseudo R2R) (วิจารณ์ พานิช, 2556)
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย ลักษณะสำคัญของ R2R แท้และดี 1.เป็นงานที่ผู้วิจัยทำเอง และ เป็นความจริง (Routine & Fact) 2.เกิดการพัฒนา ที่มีหลักฐานยืนยัน (Evident Based Development/Improvement) 3.ใช้ระยะเวลาดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เกินกว่า 1 ปี (Longtime Continuous Implementation) 4.เป็นผลงานวิจัย ที่มีคุณค่าต่อทุกฝ่าย (Valuable Research Results for All) 5.ถูกต้องตามหลักของกระบวนการวิจัย (Correct to Research Methodology) รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย การ“พัฒนา”งานอย่างต่อเนื่อง เริ่มต้น ดำเนินการ ทดลอง /พัฒนา เริ่มต้น “ทำ”งาน หลังทดลอง เวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ก่อนทดลอง X5 สิ่งที่ใช้ ในการทดลอง /พัฒนา X1 X2 X3 X4 X6 O1 O2 O3 O5 ผลการ ดำเนินงาน O4 O6 X = รูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) O = ผลการดำเนินงานตามดัชนีชี้วัด (Working Outputs) เป็น การทำ “งาน” ที่มีคุณภาพสูง อย่างครบวงจร ต่อเนื่อง ตามแต่ละช่วงเวลา นำไปสู่การพัฒนา ที่มั่นคง และ ยั่งยืน (Continuous & Sustainable Improvement: CSI) รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
R2R แท้และดี ของคนดี (เป็น R2R2E) จึงเป็นกระบวนการทำงาน ที่มุ่งมั่นทำงานเพื่องาน และเพื่อผู้รับบริการ อย่างเสียสละ และ น่าชื่นชม มาเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน หลายๆปี ติดต่อกัน เป็นวิจัย เชิง ทดลอง
เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา R2R เป็นการวิจัย เพื่อแก้ปัญหา R2R แท้และดี (R2R2E) เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา อย่างยั่งยืน
R2R2E is 5 in 1 1.พัฒนางาน 2.พัฒนาคน 3.พัฒนาองค์การ 4.พัฒนาวิชาการ 5.พัฒนาประเทศชาติ
โจทย์วิจัยใน R2R ปัญหาวิจัย แนวทางการแก้ปัญหาในอนาคต คำถามวิจัย (Research Problems : RP) คือ ............................................................... ........................................................... (จากอดีต ถึง ปัจจุบัน และ แนวโน้มในอนาคต) แนวทางการแก้ปัญหาในอนาคต คือ .............................................................. คำถามวิจัย (Research Questions : RQ) คือ .............................................................
ปัญหาวิจัย ใน R2R [P=(E-A) x C] คือ ผลดำเนินงานทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ (Research Problems: RP) คือ ปัญหาของงานประจำ คือ ผลดำเนินงานทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านปริมาณงานที่ทำและที่ได้รับจากการทำงาน, ด้านคุณภาพงานที่ได้รับจากการทำงาน, ด้านเวลาและแรงงาน ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน, ด้านความไม่พึงพอใจต่อการดำเนินงาน&ผลการดำเนินงาน ของผู้เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน ที่ผ่านมาแล้ว ยังไม่ดี ตาม C ของผู้เกี่ยวข้อง [P=(E-A) x C]
ตัวปัญหาของงาน..........ที่ต้องการพัฒนา (The Problems) คือ ผลการดำเนินงานที่ผ่านๆมา ของงาน................................... ที่ต้องการพัฒนา ที่ยังไม่ดี เมื่อเทียบกับความคาดหวังของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกๆฝ่าย [P=(E-A)C] ประกอบด้วย 1. ตัวปัญหาด้านปริมาณงานที่ทำ และ ที่ได้รับจากการทำงาน ได้แก่ 1.1.......................................................................................................................................... 1.2..................................................................................................... .................................... 1.3................................................................................................... ...................................... 1.4................................................................................................... ...................................... 2. ตัวปัญหาด้านคุณภาพงานที่ได้รับจากการทำงาน ได้แก่ 2.1................................................................................................... ...................................... 2.2................................................................................................... ...................................... 2.3................................................................................................... ...................................... 2.4................................................................................................... ...................................... 3. ตัวปัญหาด้านเวลาและแรงงาน ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ 3.1..................................................................................................... .................................... 3.2................................................................................................... ...................................... 3.3................................................................................................... ...................................... 3.4................................................................................................... ...................................... 4. ตัวปัญหาด้านความไม่พึงพอใจต่อการดำเนินงาน & ผลการดำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ 4.1................................................................................................... ...................................... 4.2................................................................................................... ...................................... 4.3................................................................................................... ...................................... 4.4................................................................................................... ...................................... 5. ตัวปัญหาด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน & ผลการดำเนินงาน ได้แก่ 5.1................................................................................................... ...................................... 5.2................................................................................................... ...................................... 5.3................................................................................................... ...................................... 5.4........................................................................................................ ...................................... (เอกสารอ้างอิง...................................................................................................................................)
คำถามวิจัยหลักใน R2R ในการแก้ปัญหา แนวทาง/วิธีการ ที่ชัดเจน (Main Research Questions) แนวทาง/วิธีการ ในการแก้ปัญหา ที่ชัดเจน และ มั่นใจได้ว่า สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหา อย่างยั่งยืนได้ โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ นั้น เป็นอย่างไร?
(Research Methodology) ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) ของ R2R
Research Design R2R R2R แท้และดี ทั่วๆไป ที่ไม่ยุ่งและไม่ยากมาก เป็นวิจัยได้หลากหลายแบบแผน (Design) ทั้งการวิจัยเชิงพรรณนา การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัย R&D การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยกึ่งทดลอง การวิจัยพัฒนาเชิงทดลอง การวิจัยเชิงคุณภาพ ฯลฯ ทั้งแบบกลุ่มเดียว, 2 กลุ่ม, หลายกลุ่ม ขึ้นอยู่กับเรื่อง ประเด็น และ วัตถุประสงค์ ของการวิจัยแต่ละเรื่อง R2R แท้และดี ทั่วๆไป ที่ไม่ยุ่งและไม่ยากมาก เป็นวิจัยพัฒนาเชิงทดลอง (Practical R&D) (Experimental Development Research) แบบกลุ่มเดียว วัดผล ก่อน และ หลัง การทดลอง (one group, pre-test and post-test design)
สิ่งที่ใช้ในการทดลอง Research Intervention คือ รูปแบบการดำเนินงาน............................. ที่พัฒนาขึ้น โดยมีการปรับปรุงพัฒนาเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลัก Management by Participation มาประยุกต์แบบบูรณาการ นำไปทดลองที่ หน่วยงาน .............กอง................... วช. ระหว่างวันที่ .................. ถึง .......................
ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) คือ การดำเนินงาน........................................... ในช่วงเวลาที่ศึกษา ตั้งแต่ วันที่ .......2552 ถึง ............. 2556 รวมทั้งสิ้น …… ครั้ง ใช้ประชากรทั้งหมด เป็นกลุ่มตัวอย่าง การดำเนินงาน.................................แต่ละครั้ง เริ่มต้นที่ การ................................................จนถึง .......................................................................................โดยสมบูรณ์
เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย (Research Instruments for Data Collection) 1.แบบบันทึกข้อมูลลักษณะพื้นฐานของพื้นที่วิจัย 2.แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานของงาน และ การดำเนินงาน........... 3.แบบบันทึกการปฏิบัติงาน และ ผลการปฏิบัติงาน ของงาน..... 4.แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการดำเนินงาน ของงาน......... 5.แบบสอบถามความพึงพอใจ และ ข้อเสนอแนะ ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน......... 6.แบบบันทึกการประชุมกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน.................. และ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 7.แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน............... 8.แบบสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน............... 9.กล้องถ่ายรูป
แบบบันทึกผลการดำเนินงานประจำเดือน แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการดำเนินงาน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถามความพึงพอใจและข้อเสนอแนะ แบบบันทึกการปฏิบัติงาน และ ผลการปฏิบัติงาน แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย Data Analysis ใช้ Descriptive Statistics Inferential Statistics (ถ้าดี) และ Content Analysis
การวิเคราะห์ข้อมูล และ สถิติที่ใช้ ดังนี้ 1.ข้อมูลลักษณะทั่วไปของประชากร วิเคราะห์ด้วย Descriptive Statistics 2.การเปรียบเทียบข้อมูลลักษณะทั่วไปของประชากร ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การทดลอง Descriptive Statistics และ Content Analysis 3.การเปรียบเทียบข้อมูลผลการดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การทดลอง เชิงปริมาณ Descriptive Statistics, Inferential Statistics และ Content Analysis 4.การเปรียบเทียบข้อมูลผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ 5.ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ด้วย Content Analysis
ในแต่ละปี พวกเราได้ทำวิจัย ในงานประจำของเรา ไม่น้อยกว่า 100 เรื่อง โดยทำได้ดีมาก ประมาณ 10% ทุกเรื่อง (ทั้งที่ทำได้ดี และ ทำได้ไม่ดี) สามารถเขียนเป็นผลงาน R2R ได้ทั้งสิ้น
การทำวิจัย ประกอบด้วย 1. การคิดจะทำวิจัย ข้อใด ที่พวกเรา ทำได้ดี (เก่ง) ประกอบด้วย 1. การคิดจะทำวิจัย 2. การเขียนโครงร่าง (แผนงาน) การทำวิจัย 3. การนำเสนอโครงร่างการทำวิจัย เพื่อขออนุมัติการทำวิจัย 4. การลงมือทำวิจัย 4.1 การเตรียมการก่อนเก็บข้อมูล 4.2 การเก็บข้อมูล 4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 4.4 การสรุปผลข้อมูลการวิจับ 4.5 การอภิปรายผลการวิจัย และ ให้ข้อเสนอแนะ 5. การเขียนรายงานผลการทำวิจัย 6. การเผยแพร่ผลงานวิจัย 7. การขยายผลการทำวิจัย
งานใดที่ต้องเขียน Proposal? สั่งให้เขียน Proposal การทำวิจัย ในงานตามภาระกิจหลัก 1.งานที่ทำไปแล้ว 2.งานที่กำลังทำอยู่ 3.งานที่จะทำในอนาคต งานใดที่ต้องเขียน Proposal? งานที่ “ผู้มีอำนาจ” สั่งให้เขียน Proposal
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย จุดแข็งของพวกเรา ในการสร้างสรรค์ผลงาน R2R คือ ได้ทำวิจัย ในงานของเรา มาแล้วมากมาย รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย ปัญหา (จุดอ่อน) หลัก ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย ของพวกเรา คือ เขียน/นำเสนอ ผลงานวิจัยได้ไม่ดี เพราะไม่ค่อยได้ทำ รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ในการเขียนครั้งต่อๆ มา ผลงานวิจัย ยากมาก ในการเขียน ครั้งแรก แต่จะยากน้อยลง ในการเขียนครั้งต่อๆ มา
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย พวกเรา จะทำ อย่างไร? (How to do?) รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
เขียน และนำเสนอ ผลงานวิจัย ของพวกเรา บ่อยๆ
วิธีการ ในการ “เขียน” ผลงานวิจัย 1.ผลงานประจำ จากงานตามภาระกิจหลัก ที่ทำเสร็จแล้ว ใช้เวลาเขียนประมาณ 1 เดือน 2.ผลงานประจำ (งานตามภาระกิจหลัก) ที่จะทำใหม่ (เริ่มจากเขียน Proposal) ใช้เวลาทำและเขียน ไม่น้อยกว่า 6 เดือน ถ้าจะให้เป็น R2R แท้ และ ดี ต้องใช้เวลาทำและเขียน>42 เดือน พวกเรา จะเลือกข้อใหน?
เทคนิคการเลือก เราเลือก เพื่อเสริมพลัง เรื่องที่จะเขียนและนำเสนอ เป็น ผลงานวิจัย R2R เรื่องแรกๆของเรา เราเลือก งานที่เราทำไปแล้ว มีความสุข และ ภาคภูมิใจ ทุกครั้ง ที่นึกถึง เพื่อเสริมพลัง และเพิ่มความสุขให้กับพวกเรา
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย การพัฒนา การเขียน และ นำเสนอ ผลงาน R2R เรื่องที่๑ อย่างมีความสุข ด้วยการเขียนผลงานที่ทำเสร็จแล้ว เป็น Paper วิจัย รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา ผลงาน ที่ข้าพเจ้าได้ทำกับมือ และ ภาคภูมิใจ มากที่สุด และ งานนี้พวกเรายังทำอยู่ คือ ผลงาน ............................................................. ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ เนื่องจาก ........................................................................ ........................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การพัฒนางานตามภารกิจหลัก การพัฒนางานตามภารกิจหลัก จากผลงานที่ภาคภูมิใจ ปฏิบัติการ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย ตามใบงานที่ ๑ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย จากผลงานที่ภาคภูมิใจ
งานตามภาระกิจหลัก ที่ข้าพเจ้าตั้งใจจะเขียนเป็นผลงานวิจัยR2R เรื่องที่ ๑ ของข้าพเจ้า คือ งาน …………………………………….……………… หน่วยงาน ……………………….…………………… จุดเด่นของ ผลการดำเนินงาน ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา คือ ………………………………………….……………… …………………………………….…………………… ………………………………………………………….
นำเสนอ ผลงาน ที่กลุ่มพวกเรา ภาคภูมิใจ กลุ่มละ 3 นาที
การพัฒนางานตามภารกิจหลัก เพื่อการนำเสนอผลงานวิจัย ปฏิบัติการ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย ตามใบงานที่ ๒ การจัดทำ Slide เพื่อการนำเสนอผลงานวิจัย แบบ Oral Presentation
เทคนิคการเรียนลัด ในการเขียนและนำเสนอ ผลงานวิจัย R2R ๑.จัดทำ Slide การนำเสนอผลงานวิจัย ประมาณ 20-30 Slides ๒.Present ผลงานวิจัย ในที่ประชุม ด้วย แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ของ KM ๓.จัดทำ “นิพนธ์ต้นฉบับ” (Original Paper/Article) ลงตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย การจัดทำ Slide ppt. นำเสนอ ผลงานวิจัย R2R รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
Slide การนำเสนอผลงานวิจัย R2R แท้และดี ๒.ชื่อเรื่อง และ ชื่อผู้วิจัย ๓.ความเป็นมาและความสำคัญของสิ่งที่วิจัย ๔.วัตถุประสงค์การวิจัย ๕.แบบการวิจัย (Research Design) Intervention ที่ใช้ในการวิจัย พื้นที่วิจัย (พื้นที่ทดลอง) และ ระยะเวลาที่ทดลอง ๖.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population and Sample) และ วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ๗.ขั้นตอนและวิธีการในการดำเนินงานวิจัย ๘.ขั้นตอนและวิธีการในการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานใหม่ ๙.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๑๐.การวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัย และ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ๑๑.ผลการวิจัย มีประมาณ ๓ Slides ตามวัตถุประสงค์การวิจัย -รูปแบบการดำเนินงานใหม่ ที่พัฒนาขึ้น -ผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ระหว่าง Pre-test กับ Post-test -กราฟเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน มีประมาณ ๒ Slides ๑๒.อภิปรายผลการวิจัย มีประมาณ ๒ Slides ๑๓.สรุปสิ่งที่ได้จากการวิจัย ๑๔.ข้อเสนอแนะในการนำสิ่งที่ได้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ มีประมาณ ๓ Slides ๑๕.กิตติกรรมประกาศ ๑๖.ภาพประกอบ (เพิ่มความเข้าใจ) ๑๗.Slide จบการนำเสนอ
การพัฒนางานตามภารกิจหลัก ที่เป็น Original article ปฏิบัติการ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย ตามใบงานที่ ๓ การเขียน ผลงานวิจัย ที่เป็น Original article
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย อภิปราย ซักถาม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และ ร่วมกันให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ผลงานวิจัย R2R ของพวกเรา รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิธีการ ประกอบด้วย ในการทำงานตามภาระกิจหลักให้เป็นผลงานทางวิชาการ กิจกรรม และ ขั้นตอน ในการดำเนินงาน ที่สำคัญ 8 ประการ คือ 1.การกำหนดเป็นนโยบายจากผู้บริหารสูงสุดขององค์การ 2.การกำหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 3.การสรรหาบุคคลผู้รับผิดชอบ 4.การจัดทำ “โครงการ” พัฒนาการทำงานตามภาระกิจหลักให้เป็นผลงานทางวิชาการ ขององค์การ 5.การจัดทำ “ระบบงาน” ของการดำเนินงานทำงานตามภาระกิจหลักให้เป็นผลงานทางวิชาการ 6.การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop Training) ในการทำงานประจำของบุคคลากร ให้เป็นผลงานทางวิชาการ ในสถานการณ์จริง 7.การจัดเวทีให้มีการนำผลงานทางวิชาการจากงานประจำนี้ มาเผยแพร่ 8.การสนับสนุน และ ส่งเสริม การทำงานตามภาระกิจหลักของบุคคลากร ให้เป็นผลงานทางวิชาการ อย่างเข้มแข็ง จริงจัง จริงใจ และ ต่อเนื่อง ตลอดไป หน่วยงาน ของเรา มีอะไรบ้าง เพียงพอ หรือยัง?
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย Concept และ วิธีการ ในการพัฒนา R2R ของพวกเรา 1.พวกเราทุกคน ได้ทำวิจัย R2R มาแล้วมากมาย ตั้งแต่เกิด 2.ให้นำผลงานดีๆ ที่พวกเราแต่ละคนได้ทำมาแล้ว มานำเสนอ เป็นผลงานวิจัย ในที่ประชุมวิชาการ และเขียนเป็น Paper วิจัย ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (>3 เรื่อง) 3.ให้นำ Research Methodology มาประยุกต์ในการทำงาน ทุกงาน ให้ได้ผลงานวิจัยที่ดีและมีคุณค่ายิ่งๆขึ้น อย่างต่อเนื่อง (ทุกปี) ตลอดไป รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ไม่มีการขอทรัพยากรเพิ่ม ณ ที่นี้ R2R เน้น การใช้ทรัพยากร “เท่าที่มีอยู่” ไม่มีการขอทรัพยากรเพิ่ม
สิ่งที่พวกเรามุ่งหวัง ให้พวกเรา ทำงานที่พวกเราทำอยู่ทุกๆวัน ให้เป็นผลงานทางวิชาการ อย่างภาคภูมิใจ และ มีความสุข ยิ่งๆขึ้น ตลอดไป ทำ งานทุกงาน ของพวกเรา ให้เป็น ผลงานวิจัย R2R แท้ แบบ R2E
การช่วยกันพัฒนาต่อไป การฝึกอบรมลูกไก่ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R การช่วยกันพัฒนาต่อไป ๑.เขียน Original article/Manuscript จนเสร็จสมบูรณ์ ๒.เขียนโครงการ พัฒนางานตามภาระกิจหลัก ให้เป็นผลงานทางวิชาการ ต่อหน่วยงาน/วช. ๓.เขียน Research Proposal และ การขอใบรับรองจริยธรรม ของงานวิจัย R2R ๔.นำเสนอผลงานวิจัยเรื่องใหม่ ในเวทีวิชาการ / วารสารทางวิชาการ ทุกปี ๕.ขยายผลและต่อยอด การพัฒนางานตามภาระกิจหลัก ให้เป็นผลงานทางวิชาการ ต่อไป อย่างกว้างขวางและยั่งยืน รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม ผู้นำ R2R ของ วช. การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย สรุป การเรียนรู้ ของพวกเรา ในวันนี้ (AAR) รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
สู่การพัฒนาผลงานวิจัย ที่มีความสุข และ ยั่งยืน การฝึกอบรมลูกไก่ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R การติดตาม ส่งเสริม และ สนับสนุน การพัฒนา R2R ที่มีคุณภาพดี สร้างความมั่นใจ สู่การพัฒนาผลงานวิจัย ที่มีความสุข และ ยั่งยืน How to do? รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการฝึกอบรม Training for the Trainers in Research Development หมวด ๗ การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R มั่นใจว่า พวกเรา สามารถทำได้ แน่นอน รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล
องค์ความรู้และเทคนิคที่จำเป็น ในการดำเนินงานและการพัฒนาผลงานวิจัย R2R แท้และดี มี 30 เรื่อง 1. ปรัชญาของ R2R (Philosophy of R2R) 2. ความรู้พื้นฐานของการทำงาน (Fundamental Knowledge of Working) 3. เป้าหมายของการทำงาน (Goal of Working) 4. หลักการบริหาร (Principle of Managing) 5. หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Principle of Change Management) 6. หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Principle of Management by Participation) 7. หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Principle of Management by Results) 8. หลักการบริหารตามสภาวการณ์ (Principle of Situational Management) 9. หลักการวิเคราะห์สภาวการณ์ (Principle of Situation Analysis) 10. แนวคิดการมองปัญหาเชิงสร้างสรรค์ 11. หลักการวิเคราะห์ปัญหา (Principle of Problem Analysis) 12. หลักการของดัชนีชี้วัดผลการดำเนินงาน (Principle of Working Indicators) 13. หลักการของระบบการดำเนินงาน (Principle of Working Systems) 14. หลักการของระบบงานบริการ (Principle of Service Systems) 15. วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle: PDCA) 16. หลักการนำสิ่งที่ได้จากการดำเนินงานไปใช้ประโยชน์ (Principle of Utilizing) 17. หลักการบริหารเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร (Principle of IT Management) 18. หลักการบริหารการติดต่อสื่อสาร (Principle of Communication Management) 19. หลักการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Principle of Continuing Improvement) 20. หลักการทำงานเป็นทีม (Principle of Team Working) 21. หลักการเสริมพลัง (Principle of Empowerment) 22. เทคนิค How to do ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องสู่ความยั่งยืน 23. SOAR Technique เพื่อการพัฒนางานและองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ 24. หลักการทบทวนวรรณกรรม (Principle of Literature Review) ในการวิจัย 25. หลักการจัดการความรู้ (Principle of Knowledge Management) 26. หลักการเขียนผลงานวิจัย (Principle of Research Writing) 27. หลักการของระเบียบวิธีวิจัย (Principle of Research Methodology) -แบบการวิจัย (Research Design) -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population and Sample) -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Research Instruments) -การเก็บข้อมูลการวิจัย (Data Collection) -การทำความสะอาดข้อมูล (Data Cleaning) ก่อนการวิเคราะห์ -การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) -สถิติที่ใช้ในการวิจัย (Research Statistics) -การพิสูจน์สมมติฐานการวิจัย (Hypothesis Testing) 28. หลักการสร้างและพัฒนารูปแบบการดำเนินงาน (Principle of Working Model Development / Improvement) 29. หลักการอภิปรายผลการวิจัย (Principle of Research Discussion) 30. หลักการให้ข้อเสนอแนะจากการวิจัย (Principle of Research Recommendation)