ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย เด็กไทอุดรพัฒนาการสมวัย หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพสต./ภาคีเครือข่าย ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย เด็กไทอุดรพัฒนาการสมวัย pp Excellence แผนงานที่ 1 1.สถานบริการสุขภาพมีบริการฝากครรภ์และการคลอดมาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 2.อัตราส่วนการตายมารดาไทยเท่ากับ 0 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดอุดรธานี อัตราการตายมารดา ในปี พ.ศ. 2557-2560 (ณ ส.ค.60) พบว่า อัตราการตายมารดา 25.56,20.67,14.29 และ24.49 ต่อแสนการเกิดมีชีพตามลำดับ มีแนวโน้มสูงขึ้นในปี 2560 สาเหตุการตาย สาเหตุทางตรง คือ PPH PIH Eclampsia สาเหตุทางอ้อม คือ ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม โรคหัวใจ SLE สถานบริการผ่านมาตรฐาน ANC คุณภาพ ปี 2558 – 2560 ร้อยละ 77.83, 81.30 และ 88.46 ตามลำดับ สถานบริการสุขภาพมีการคลอดมาตรฐาน 18 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายแม่และเด็กทุกระดับ พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาระบบบริหารจัดการและคุณภาพมาตรฐานการบริการ 1.พัฒนาความรู้ทักษะการเฝ้าระวังความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ 2.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (LINE Facebook) เพื่อติดตามข้อมูลผลลัพธ์ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงและคืนข้อมูลการดูแลระดับชุมชน 3.เครือข่ายค้นหา ดูแลเบื้องต้น และส่งต่อได้ทันเวลา(กรณีฉุกเฉิน) 4. เสริมสร้างความร่วมมือของท้องถิ่น ชุมชน และครอบครัว ในการมีส่วนร่วมในงานอนามัยแม่และเด็ก ลดปัญหาแม่ตาย ลูกตาย 1.ส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์(สาวไทยแก้มแดง) เตรียม ความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ 2.Early ANC 12 wks. 3.ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงเชิงรุกในชุมชน 4.คัดกรองหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาโรค ทางอายุรกรรมและเพื่อวางแผนการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการคลอด 6.ส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลตนเองของหญิง ตั้งครรภ์ 1. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการ ANC/LR External Audit 2. พัฒนาความเข้มแข็ง MCH BOARD ทุกระดับ 3. จัดหาวัสดุ (ถุงตวงเลือด) เวชภัณฑ์ (ยาที่ใช้สำหรับภาวะฉุกเฉินทางสูติกรรม) เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ในการช่วยเหลือและบริการด้านสูติกรรม และทารกแรกเกิดให้เพียงพอทุกโรงพยาบาล 4.พัฒนาระบบการส่งต่อที่มีคุณภาพ 5.พัฒนาระบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทางอายุรกรรมร่วมกัน ของสูติแพทย์และอายุรแพทย์อย่างเป็นระบบ 6. การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด เช่น การใช้ถุงตวงเลือด และ Condom Balloon Temponade 7.ทบทวนและกำหนดมาตรการระดับจังหวัดและถือปฏิบัติทุกสถานบริการ 8.พัฒนาศักยภาพทีมประเมิน M&E กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 1.ค้นหาและส่งต่อฝากท้องได้รวดเร็ว ทุกที่ฟรีทุกสิทธิ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ตลอดจนการสื่อสารในชุมชน 2.มีการเฝ้าระวังโดยใช้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตามแนวทางอุดรโมเดล 2016 3.MCH Board ทุกระดับประชุมวางแผน ติดตามงานทุก 3 เดือน/รพศ./รพท./Node มีและปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมสูติ-อายุรแพทย์ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยง 4.ซ้อมแผนปฏิบัติการดูแลภาวะวิกฤติมารดา ทารกในห้องคลอดและNCPR และฝึกทักษะพยาบาลANC ไตรมาส 2 1. MCH Board ทุกระดับประชุมวางแผน ติดตามงานทุก 3 เดือน 2.นิเทศกำกับนโยบาย WARNING SIGN สู่การปฏิบัติ 3.นิเทศกำกับในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตามแนวทางอุดรโมเดล 2016 4.Coaching on the job training ไตรมาส 3 1.สถานบริการสุขภาพที่มีการฝากครรภ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.สถานบริการสุขภาพที่มีการคลอดมาตรฐาน ร้อยละ 100 3.อัตราส่วนการตายมารดาไทยเท่ากับ 0 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ไตรมาส 4 1.สถานบริการสุขภาพที่มีการฝากครรภ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ระดับความ สำเร็จ
ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย เด็กไทอุดรพัฒนาการสมวัย หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพสต./ภาคีเครือข่าย ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย เด็กไทอุดรพัฒนาการสมวัย pp Excellence แผนงานที่ 1 เป้าหมาย/ 1. การคลอดก่อนกำหนด ลดจากเดิมร้อยละ 20 ของการคลอดก่อนกำหนดทั้งหมด 2. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 LB 3. อัตราตายปริกำเนิดจากสาเหตุ DFIU/Preterm ลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดอุดรธานี ร้อยละการคลอดก่อนกำหนด ในปี 2557-2560 (ณ สค.60) ร้อยละ 9.8, 8.63, 9.0 และ8.5 (ไม่เกินร้อยละ 10 ) ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะต่ำกว่า 150 µg/L ไม่เกินร้อยละ 50 ปี 2556-2558 ร้อยละ 58.56, 55.9 และ 52.9 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ปี 2557-2560 (ณ สค.60) ร้อยละ 8.74,9.44,8.93, และ 7.83 ตามลำดับ อัตราทารกตายปริกำเนิด ปี 2557-2560 (ณ สค.60) อัตรา 5.88,8.78, 5.41และ 6.58 ต่อการเกิดทั้งหมดพันคน ตามลำดับ (ไม่เกิน 8 ต่อพันการเกิดทั้งหมด) อัตราทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจน ปี 2557-2560 (ณ สค.60) อัตรา 15.27, 19.56, 23.58 และ 17.71 ตามลำดับ พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็ก พัฒนาระบบบริหารจัดการและคุณภาพมาตรฐานการบริการ เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายแม่และเด็กทุกระดับ ยุทธศาสตร์/ มาตการ 1. ค้นหาปัจจัยเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการคลอด ก่อนกำหนด 2. คัดกรองและพัฒนาระบบส่งต่อภาวะเครียดในหญิงตั้งครรภ์ อย่างครอบคลุม 3. ป้องกันการติดเชื้อในช่องคลอดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง 4. ส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ 5. ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 6. ป้องกันการใช้สารเสพติดในหญิงตั้งครรภ์ 7. ป้องกันภาวะขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ตรวจ urine Iodine ผิดปกติ ตรวจซ้ำ 1. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการANC/LR ตำบลต้นแบบฝากครรภ์คุณภาพ 2. การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด เช่น การใช้ยา progesterone ลดปัจจัยเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ 3. พัฒนาการส่งต่อ intrauterine transfer 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อย 5.พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านทักษะการดูแลภาวะฉุกเฉินและป้องกันภาวะวิกฤตในหญิงตั้งครรภ์ 6.คัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดและได้รับการรักษาโดยเร็ว 6.พัฒนาการตรวจและรักษาภาวะ ROPในเด็กคลอดก่อนกำหนด 1.พัฒนาความรู้ทักษะการเฝ้าระวังความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ คลอดก่อนกำหนด 2.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (LINE Facebook) เพื่อติดตามข้อมูลผลลัพธ์ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด 3.เครือข่ายค้นหา ดูแลเบื้องต้น และส่งต่อได้ทันเวลา(กรณีฉุกเฉิน) เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด 4. เสริมสร้างความร่วมมือของท้องถิ่น ชุมชน และครอบครัว ในการมีส่วนร่วมในงานอนามัยแม่และเด็ก ลดปัญหาการคลอดก่อนกำหนดและทารกตาย กิจกรรมหลัก ระดับความ สำเร็จ ไตรมาส 1 1. การคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากเดิมร้อยละ 5 2. ทารกแรกเกิดน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 3.อัตราตายปริกำเนิดจากสาเหตุ DFIU/Preterm ลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 5 4.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะ ต่ำกว่า 150 µg/L ไม่เกินร้อยละ 50 ไตรมาส 2 1. การคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากเดิมร้อยละ 10 ลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 10 ไตรมาส 3 1. การคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากเดิมร้อยละ 15 ลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 15 ไตรมาส 4 1. การคลอดก่อนกำหนด ลดลงจากเดิมร้อยละ 20 ลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 20
“เด็กอุดร แข็งแรง เก่ง ดี มีวินัย มีความสุข ” “ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน” ร้อยละของเด็กอายุ0-5ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85, ร้อยละของเด็กอายุ 0-5ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลคุณภาพตามมาตรฐาน ร้อย 70 , เด็กไทยมีระดีบสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100, ครอบครัวมีความเข้มแข็งและอบอุ่น ร้อยละ 80 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน สถานการณ์พัฒนาการเด็กจังหวัดอุดรธานีจากปี 2559 พบว่าเด็กอายุ 0 – 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90.22 (เป้าหมายร้อยละ 85) และพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อยละ 9.78 สำหรับเด็ก อายุ 9 , 18 , 30 และ 42 เดือน ปี 2558 – 2559 พบว่าเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 7.95 และ 12.46 และภาวะโภชนาการ จากปี 2557 – 2559 พบว่าเด็กปฐมวัยมีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 46.70 , 46.59 และ 53.38 ตามลำดับ ไอคิวเฉลี่ยเด็กนักเรียน จังหวัดอุดรธานีสำรวจ โดยกรมสุขภาพจิต ปี 2554 พบเด็กนักเรียนอายุ 6 – 15 ปี มีไอคิวเฉลี่ย 97.5 ปี 2559 พบไอคิวเฉลี่ย 97.4 ยุทธศาสตร์ 4 H /กลยุทธ์/กิจกรรม ส่งเสริมสนับสนุนระบบบริหารจัดการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ พัฒนาระบบบริการเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย พัฒนาระบบสารสนเทศ Head ( ไฝ่เรียนรู้,เก่ง) กิจกรรมหลัก 1.จัดตั้งคณะกรรมการ Smart kids leader ระดับอำเภอ 2.ขับเคลื่อน Udon smart kids กลไกล MCH Board โดย District Health Board 3.ทบทวนระบบการขับเคลื่อนตำบล ต้นแบบ Udon Smart Kids แบบบูรณา การ ( 20 ตำบล ปี60 ) (กระบวนการ)PDCA 4. ส่งเสริมและสนับสนับการขยายพื้นตำบล Udon Smart Kids ปี 2561 ร้อยละ 50 ของ ตำบลที่เหลือ ( 68 ตำบล ) ( ขับเคลื่อนด้วย SRM ) 1. จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ (เน้นให้พ่อแม่ใช้เครื่องมือ DSPM) - ในสถานบริการ / รร., ศพด. / ในชุมชน 2. พัฒนาคลินิกบริการ WCCคุณภาพ 3. ส่งเสริมค้นหาเด็กพัฒนาการล่าช้าและติดตามพร้อมบันทึกข้อมูลใน HDC 4. ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย 5. พัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด 5. พัฒนาระบบข้อมูลเด็ก ดี เสี่ยง ป่วย( Socail และ Physical) 6. จัดทำ Case Management/Care Plan ในเด็กกลุ่มเสี่ยง / ป่วย 7. เพิ่มโปรแกรมตวจสุขภาพ คือ ตรวจหู, ตรวจตา, ตรวจฟันและวัดความดันโลหิตในเด็ก 4 8. จัดทำสมุดประจำตัวเด็กปฐมวัยทุกคน 1. พัฒนาศักยภาพ Smart kids leader ระดับอำเภอ 2. จัดอบรม Case management/ Care Plan 3.อบรมโภชนาการสมวัย 4.อบรม Child Giver ในการดูแลเด็กเสี่ยง 5.พัฒนาศักยภาพ CPM ในการจัดทำCase management 6. Coaching CPM ระดับอำเภอให้มีคุณภาพสามารถเป็นพี่เลี้ยง รพสต. 7. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ดูแลระบบรายงาน HDC 8. จัดประชุมทบทวนแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเด็กปฐมวัย 9. จัดประชุมคณะกรรมการประเมินงานพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด 1.ติดตามการบันทึกข้อมูลใน HDC 2.จัดทำระบบข้อมูลการรับส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการช้า 3. เพิ่มรหัสการบันทึกข้อมูลให้ครอบคลุมกิจกรรมบริการ Heart (มีวันัย, ดี ) Hand (มีทักษะ,เก่ง) Health (มี ความสุข ) ระดับความ สำเร็จ ไตรมาส 1 ประสานการบูรณาการแผน Udon Smart Kids ติดตามกำกับข้อมูลจาก HDC พัฒนาศักยภาพ Smart kids leader ระดับอำเภอ ไตรมาส 2 1. สุ่มประเมินมาตรฐาน (Standardization) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลคุณภาพในพื้นที่ ปี 2560 2.ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนตำบลต้นแบบ 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคีเครือข่าย 4.นิเทศติดตามระบบบริการเด็กปฐมวัย 5.กำกับติดตามข้อมูลใน HDC ไตรมาส 3 1.Coaching เสริมพลังในพื้นที่ 2.กำกับติดตามข้อมูลใน HDC 3.ประเมินรับรองมาตรฐาน ไตรมาส 4 1. เด็กอายุ0-5ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 2. เด็กอายุ 0-5ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 3. ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลคุณภาพตามมาตรฐาน ร้อย 70 (รับรองปี2560) 4. เด็กไทยมีระดีบสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 5. ครอบครัวมีความเข็มแข็งและอบอุ่น ร้อยละ 80
หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย pp Excellence “เด็กอุดร แข็งแรง เก่ง ดี มีวินัย มีความสุข แผนงานที่ 1 1.ร้อยละเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 2.ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละ60 3.ร้อยละเด็กอายุ 3-5 ปีในศูนย์เด็กเล็กสูงดีสมส่วนร้อยละ 54 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์พัฒนาการเด็กจังหวัดอุดรธานีจากปี 2560 พบว่าเด็กอายุ 3-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 86.69 (เป้าหมายร้อยละ 85) , ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละ75.0 (เป้าหมายร้อยละ 60) เด็กอายุ 3-5 ปีในศูนย์เด็กเล็กสูงดีสมส่วนร้อยละ 60.10 (เป้าหมายร้อยละ 54) สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ส่งเสริมสนับสนุนระบบบริหารจัดการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ พัฒนาระบบบริการเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์/ มาตรการ พัฒนาระบบสารสนเทศ กิจกรรมหลัก 1.ร่วมแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก 2. คัดกรองภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัย ในศูนย์เด็กเล็ก ได้แก่ -ภาวการณ์เจริญเติบโต ทุก 3 เดือน -ประเมินพัฒนาการเด็ก ทุก 3 เดือน-ตรวจประเมินความฉลาดทางอารมณ์ ปีละ 1 ครั้ง 1.โรงเรียนพ่อแม่เน้นให้พ่อแม่ใช้เครื่องมือ DSPM 2.พัฒนา คลินิกบริการ WCCคุณภาพ 3.ส่งเสริมค้นหาเด็กพัฒนาการล่าช้าและติดตามพร้อมบันทึกข้อมูลใน HDC 4.ส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย 5.เพิ่มโปรแกรมตวจสุขภาพ คือ ตรวจหู, ตรวจตา, ตรวจฟันและวัดความดันโลหิตในเด็ก 4 ปี โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้นิเทศและประเมินตามเกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก3-5 ปี 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับจังหวัด 1.ติดตามการบันทึกข้อมูลใน HDC 2.จัดทำระบบข้อมูลการรับส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการช้า ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 ประสานการบูรณาการแผน Udon Smart Kids ติดตามกำกับข้อมูลจาก HDC พัฒนาศักยภาพ ครูผู้ดูแลเด็ก ไตรมาส 2 1. สุ่มประเมินมาตรฐาน (Standardization) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลคุณภาพในพื้นที่ ปี 2560 2.ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนตำบลต้นแบบ 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคีเครือข่าย 4.นิเทศติดตามระบบบริการเด็กปฐมวัย 5.กำกับติดตามข้อมูลใน HDC ไตรมาส 3 1.Coaching เสริมพลังในพื้นที่ 2.กำกับติดตามข้อมูลใน HDC 3.ประเมินรับรองมาตรฐาน ไตรมาส 4 1. เด็กอายุ3-5ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 2. เด็กอายุ 3-5ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 3. ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลคุณภาพตามมาตรฐาน ร้อย 70 (รับรองปี2560) 4. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
เด็กวัยเรียนสายตาดี ฟันดี สูงดีสมส่วน สุขภาพแข็งแรง งานอนามัยวัยเรียน กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: PP & Service Excellence เด็กวัยเรียนสายตาดี ฟันดี สูงดีสมส่วน สุขภาพแข็งแรง แผนงานที่ 1&6 (สธ) 1.เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน มากกว่าร้อยละ 68 2.เด็ก 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ มากกว่าร้อย 50 3. เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความผิดปกติทางสายตาได้รับการตรวจโดยทีมจักษุร้อยละ80 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลปี 2560 เด็ก6-14 ปี จังหวัดอุดรธานี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน เทอมที่1ร้อยละ 65.2 และเทอมที่ 2 ร้อยละ65.3 เริ่มอ้วนและอ้วน 8.4และ9.2 เตี้ย 6.4และ5.6 ผอม 5.6และ5.7 ส่วนสูงเฉลี่ย ตอนอายุ 12 ปี ชาย 148.2 หญิง 150.7 ซม. เด็ก0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 63.7 พัฒนาความรู้และทักษะของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการดูแลภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการข้อมูลภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน/ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ยุทธศาสตร์/ มาตรการ 1.พัฒนาความรู้ วิชาการ/ทักษะการดูแลภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียนให้กับเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ/ รพ.สต. /ครู 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวตกรรมใหม่ๆในการจัดการภาวะสุขภาพในเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการ 1.พัฒนาความรู้ทักษะการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียนให้กับเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ/ รพ.สต. /ครู 2.พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพเด็กนักเรียนและการใช้ประโยชน์จากข้อมูล 1.ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เครือข่ายเด็กไทยฟันดี ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 2.รณรงค์และสื่อสารประชาสัมพันธ์ -การดื่มนมจืด 2 แก้ว/วัน -มาตรการฟันดี 222 -สร้างกระแสกระโดดโลดเต้น chopa chipa -การจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก -ส่งเสริมการนอน 8 ชั่วโมง กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1.บุคลากรสาธารณสุขระดับอำเภอได้รับการพัฒนา ศักยภาพ ร้อยละ 80 2. บุคลากรสาธารณสุขระดับตำบลได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 80 3.เด็กนักเรียนได้รับการคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ80 (เทอม 2ปีการศึกษา 2560) ไตรมาส 2 1.ครูได้รับการพัฒนาศักยภาพร้อยละ 80 2.เด็กนักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองและประเมินภาวะ สุขภาพ ร้อยละ 60 3.นำเข้าข้อมูลภาวะสุขภาพเด็กนักเรียน เทอม 2ปี การศึกษา 2560 ร้อยละ 80 4.เด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลร้อยละ 50 5.จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสการดื่มนมจืด/กิจกรรม ทางกาย/ส่งเสริมการนอน /มาตรการฟันดีและการ จ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ในสัปดาห์วันเด็กแห่งชาติ ไตรมาส 3 1.มีเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพทุกจังหวัด 2.มีเครือข่ายเด็กไทยฟันดีครอบคลุมทุกจังหวัด 3. เด็กนักเรียนได้รับการคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ80 (เทอม 1ปีการศึกษา 2561) 4. นำเข้าข้อมูลภาวะสุขภาพเด็กนักเรียน เทอม 1ปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 80 3.เด็กที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลร้อยละ80 ไตรมาส 4 1.เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนมากกว่าร้อยละ 68 2.เด็ก 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุมากกว่าร้อยละ 50 3.เด็กป.1ได้รับการคัดกรองสายตาร้อยละ 80 4.เด็กป.1ที่มีความผิดปกติทางสายตาได้รับการตรวจจากจักษุแพทย์ร้อยละ 80
วัยรุ่นแข็งแรงฉลาดและมีพฤติกรรมที่เหมาะสม แผนบูรณาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: PP & Service Excellence แผนงานที่ 1&6 (สธ) ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี 1.3 ต่อ ปชก.หญิงอายุ 10-14 ปี 1000 คน ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี 40 ต่อ ปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2557-2559 อัตราการคลอดมีชีพอายุ15-19 ปี ต่อ จำนวนประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000 คน ( เกณฑ์เป้าหมาย40) 50.10 , 46.66 และ 47.43 ปี2555-2558 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ10-14 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี 1,000 คน ( เกณฑ์เป้าหมาย ไม่เกิน 1.4) พบ 1.8 , 1.7, 1.6 และ 1.5 ปี 2558-2559 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 10 ) พบ 16.60 และ 19.67 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ 1.สนับสนุนบูรณาการพัฒนาเด็กวัยรุ่นกับภาคีเครือข่าย 2.พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 3.สนับสนุนการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ภายใต้พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ. 2559 4.พัฒนาโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ โดยใช้กลไกกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 1.1.ขับเคลื่อนการพัฒนา เด็กวัยรุ่นโดยกระบวนการDHB 2.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย - การวางแผนครอบครัวกึ่งถาวร - เรื่อเพศคุยได้ในครอบครัว 2.2 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายทุกระดับ/พ่อแม่ ผู้ปกครอง/แกนนาเยาวชน 3.1ขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม พ.ร.บ. ฯ และนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติฉบับที่ 2ว่าด้วย การส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ 3.2 คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด/อำเภอโดยใช้กระบวนการDHB 4.1 เยี่ยมเสริมพลังรพ.YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 4.2 ประเมินรับรองมาตรฐานรพ.YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1.ประสานการบูรณาการแผน 2.สนับสนุน การขับเคลื่อนการดาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กวัยรุ่นโดยกระบวนการDHB ไตรมาส 2 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย 2. เยี่ยมเสริมพลัง ท้องถิ่น สถานบริการสาธารณสุข 3.กำกับ ติดตามข้อมูล ในHDC ไตรมาส 3 นิเทศ ติดตาม ประเมินรับรองมาตรฐาน รพ.ตามมาตรฐาน YFHSและ มาตรฐานอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ กำกับ ติดตามข้อมูล ในHDC ไตรมาส 4 1.ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี 1.3 ต่อ ปชก.หญิงอายุ 10-14 ปี 1000 คน 2.ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี 40 ต่อ ปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพสต./ภาคีเครือข่าย แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยทำงาน pp Excellence แผนงานที่ 1 1.ร้อยละ 55 ของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดอุดรธานี ปี 2560 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 52.36 โดยการคัดกรองภาวะสุขภาพวัยทำงาน ในปี 2558 พบภาวะอ้วนในเพศชาย ร้อยละ 17.52 เพศหญิง ร้อยละ 26.60 ภาวะอ้วนลงพุง เพศชาย ร้อยละ 8.56 เพศหญิง ร้อยละ 37.06 และในปี 2559 พบภาวะอ้วนในเพศชาย ร้อยละ 28.25 เพศหญิง ร้อยละ 35.57 ภาวะอ้วนลงพุง เพศชาย ร้อยละ 8.84 เพศหญิง ร้อยละ 38.37 สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน/ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย ในการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในการ พัฒนาระบบบริหารจัดการและการจัดบริการ เพื่อลดเสี่ยง ลดโรค พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการข้อมูล ยุทธศาสตร์/ มาตรการ กิจกรรมหลัก 1.ขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการฯระดับอำเภอ 2.พัฒนาตำบลต้นแบบและหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ ลดเสี่ยง ลดโรค3.พัฒนาหน่วยงาน/อปท./สถานประกอบการ เป็นองค์กรไร้พุง 4. รณรงค์/สื่อสาร เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์ 4 ด้าน ( อาหาร , ออกกำลังกาย , การนอน , สุขภาพช่องปาก ) 1.พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพวัย ทำงาน ระดับอำเภอ 2.พัฒนาศักยภาพผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพ (Health Leader) ในตำบลต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรค 3.พัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่ม ป่วย และส่งเสริมความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4 ด้าน ในกลุ่มวัยทำงาน 4.คัดกรองภาวะสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อายุ 30-60 ปี และประเมิน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 5. พัฒนาคลินิก DPAC คุณภาพ ใน รพ./รพ.สต. 1. พัฒนาการจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 2. พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลทุกระดับ ไตรมาส 1 1.ประชาชนวัยทำงานอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.บันทึกผลการคัดกรองและวิเคราะห์ภาวะสุขภาพวัยทำงาน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 3.คณะกรรมการฯระดับจังหวัด/อำเภอมีการประชุมและจัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการ 4.มีตำบลต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรค อำเภอละ 1 ตำบล และคัดเลือกหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ 1 หมู่บ้าน ไตรมาส 2 1.คณะกรรมการฯระดับอำเภอ มีการประชุมติดตามการดำเนินงาน ทุก 3 เดือน 2. จังหวัดนิเทศ Coaching อำเภอ/ตำบล 3.ประเมินตำบลและหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ ลดเสี่ยง ลดโรค ไตรมาส 3 1.ประเมินคลินิก DPAC คุณภาพ ใน รพ. ทุกแห่ง และ คลินิก DPAC ใน รพ.สต. ร้อยละ 20 ทุกอำเภอ 2.ประเมินตำบลและหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ ลดเสี่ยง ลดโรค ร้อยละ 80 ไตรมาส 4 1. ประเมินตำบลและหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ ลดเสี่ยง ลดโรค ร้อยละ 100 (20ตำบล) 2.สถานบริการสุขภาพมีคลินิก DPAC คุณภาพ ระดับดีมาก/ดีเยี่ยม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 3.ประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 ระดับความ สำเร็จ
แผนงาน พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (PP&P) โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม Smart Longest Living and Healthiest Citizen หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: มหาดไทย พม. ศึกษา PP & Service Excellence แผนงานที่ 1&6 (สธ) Smart Aging : Smart walk Smart brain Smart eat Smart sleep & Emotional Smart integrated community care ตัวชี้วัดหลัก -อายุคาดเฉลี่ย ของการมี สุขภาพดี (Health – Adjusted Life Expectancy: HALE) 75 ปี ตัวชี้วัดรอง 1.ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 2.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 3.ร้อยละของผู้สูงอายุ (60-70 ปี)มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ประชากรจำนวน 1,575,311 คน เป็นผู้สูงอายุ 208,421 คน คิดเป็นร้อยละ 13.23 ได้รับการคัดกรอง 176,203 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.67 แบ่งตามความสามารถกิจวัตรประจำวันADL กลุ่ม 1(ติดสังคม)167,181 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.32 กลุ่ม 2 (ติดบ้าน) 1,440 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.44 และกลุ่ม 3 (ติดเตียง) 665 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.39 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนและคนในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Social มีส่วนร่วมในสังคม) พัฒนาระบบบริการสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Strong : Healthy มีสุขภาพดี) พัฒนาระบบบริหารจัดการส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัย (Secure) กิจกรรมหลัก 1.1.ผลักดันขับเคลื่อน นโยบาย ยุทธศาสตร์ รองรับสังคมผู้สูงอายุ 1.2 ขับเคลื่อนการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยกระบวนการDHB 1.3 พัฒนาภาคีเครือข่าย (Partnership) 2.1 คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 2.2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุให้ได้มาตรฐาน 2.3 พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.4 พัฒนาระบบข้อมูลให้มีคุณภาพ 1.ส่งเสริม สนับสนุนการประกันรายได้กองทุนการออมแห่งชาติ และกองทุนสวัสดิการชุมชน /ผู้สูงอายุ 60-69 ปี ที่ต้องการงานทำ มีงานทำเพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ Aged –friendly Communities /cities 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับความคุ้มครองทางสังคม ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1.ประสานการบูรณาการแผน 2.สนับสนุน การขับเคลื่อนการเตรียมการรองรับสังคมผู้สูงอายุ ในระดับพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนการรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยกระบวนการDHB 4.ตรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพแบบองค์รวม 5.บันทึกข้อมูลในโปรแกรม Aging Survey V.2 และในระบบข้อมูลของสถานบริการ JHICS /HOSXP ไตรมาส 2 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย 2. เยี่ยมเสริมพลัง ท้องถิ่น สถานบริการสาธารณสุข 3.กำกับ ติดตามข้อมูล ในโปรแกรม Aging Survey V.2 และHDC ไตรมาส 3 นิเทศ ติดตาม ประเมินรับรองมาตรฐาน งานผู้สูงอายุ กำกับ ติดตามข้อมูล ในโปรแกรม Aging Survey V.2 และHDC ไตรมาส 4 ตัวชี้วัดหลัก -อายุคาดเฉลี่ย ของการมี สุขภาพดี (Health – Adjusted Life Expectancy: HALE) 75 ปี ตัวชี้วัดรอง 1.ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 2.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 3.ร้อยละของผู้สูงอายุ (60-70 ปี)มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ
แผนงาน พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (PP&P) โครงการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care ) หน่วยงานหลัก: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี หน่วยงานร่วม: มหาดไทย พม. ศึกษา PP & Service Excellence แผนงานที่ 1&6 (สธ) ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน ได้รับการดูแลตามแผนการดูแล Care plan ทุกคน อำเภอ - ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care ) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ประชากรจำนวน 1,575,311 คน เป็นผู้สูงอายุ 208,421 คน คิดเป็นร้อยละ 13.23 ได้รับการคัดกรอง 176,203 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.67 แบ่งตามความสามารถกิจวัตรประจำวันADL กลุ่ม 1(ติดสังคม)167,181 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.32 กลุ่ม 2 (ติดบ้าน) 1,440 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.44 และกลุ่ม 3 (ติดเตียง) 665 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.39 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจำแนกตาม TAI กลุ่ม 1 2,177 ราย คิดเป็นร้อยละ 50.69 กลุ่ม 2 603 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.53 กลุ่ม 3 687 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.84 และกลุ่ม 4 180 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.94 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Partnership ชักชวนพันธมิตรทุกภาคส่วน ทุกระดับ Invest กระตุ้นให้เกิดการเกิดลงทุนโดยเฉพาะด้านงบประมาณที่เพียงพอ Regulations บังคับใช้กฎหมาย เพื่อคุ้มครองประชาชนจากความเสี่ยงต่อสุขภาพทุกด้าน Advocacy ชี้นำ ชูประเด็น และสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายทุกระดับให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพ Building Capacity พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคส่วนให้สามารถพัฒนานโยบายทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ กิจกรรมหลัก ใช้กลไกคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ในการขับเคลื่อน LTC และคณะกรรมการดำเนินงานในระดับพื้นที่ DHB และกลไกชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 1.ประสานแหล่งเงินทุน (สปสช. สสส. อปท.) เพื่อสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุ 2.สนับสนุนการจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Giver) 3.สร้างพัฒนานวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุ ขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุและแนวทางการจ่ายเงินตามชุดสิทธิ ประโยชน์ และมาตรฐาน การดูแลผู้สูงอายุ สร้างการสื่อสาร สาธารณะที่เข้าถึงง่าย ร่วมกับเครือข่าย เพื่อ “สังคมไทย เป็นสังคม แห่งความกตัญญูรู้คุณ ไม่ทอดทิ้งผู้สูงอายุ 1.พัฒนาระบบ LTC / ระบบดูแล ผู้สูงอายุ 3 S 2.อบรม Care manager Caregiver และ อสค. 3.สร้าง พัฒนา ทีมนำในการส่งเสริม สุขภาพดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1. มีการทบทวนสถานการณ์ การทำงานของพื้นที่ 2. มีคณะทำงานทุกระดับ 3. มีพื้นที่เข้าร่วมโครงการครบทุกอำเภอ ทุกตำบล 4. มีการประชุมชี้แจง 5. จัดอบรมCM/CG 6.ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 45 ไตรมาส 2 1.สร้างพัฒนาทีมนำในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน 2. จัดทำระบบฐานข้อมูลการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว 3. มี CM 130 คนและCG 243 คน 4. ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ร้อยละ 30 – 59 (จากเป้าหมาย ...........คน) TAI 5. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ไตรมาส 3 1.มีระบบฐานข้อมูล 2.มี CM 180 คน และ CG 486 คน 3.ผู้สูงอายุได้รับการ ดูแล ร้อยละ 60 – 79 4. ตำบล LTC ผ่าน เกณฑ์ ร้อยละ 55 ไตรมาส 4 1.มี CM 225 คน และ CG 729 คน 2. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามCare plan ร้อยละ 80 – 100 3. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60