งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ
Promotion Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 1 เป้าหมาย เมืองศูนย์กลางของประเทศ เป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพิ่มขึ้น KPI เด็ก 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ≥ 85 (ภายในปี 64) 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ≥ 51 และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (เด็กชาย 113 เซนติเมตร และเด็กหญิง 112 เซนติเมตร) ผู้สูงอายุ 1.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ 2.ร้อยละของ Healthy Ageing (ผู้สูงอายุสุขภาพดี) เด็ก ผู้สูงอายุ สถานการณ์ ภาคกลางมีกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น 325,986 คน ได้รับการคัดกรอง % ของกลุ่มเป้าหมาย มีพัฒนาการสมวัย 95.37% สงสัยล่าช้า % และติดตามกระตุ้นได้ 64.41% 1.ข้อมูลสัดส่วนผู้สูงอายุ Pre aging กลุ่มอายุ ปี 2.ประเภทผู้สูงอายุ(4 กลุ่ม) อปท ร่วมดำเนินงาน LTC ฐานข้อมูล CM/CG/CP /ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์/มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบบข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและรักษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 Partners การสร้างภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 Invest การลงทุนเพื่อสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 Regulation การออกกฎหมายที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ยุทธศาสตร์ที่ 4 Advocacy การสร้างความรู้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 Building capacity การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กิจกรรมหลัก วิเคราะห์ ติดตามข้อมูลจาก HDC 2. จัดทำระบบข้อมูลการรับส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า 1. สร้างความตระหนักรู้ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการ ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 2. ส่งเสริมพัฒนาการด้วยกิจกรรมกิน กอด เล่น เล่า เฝ้าดูช่องปาก นอน (Heart ดี มีวินัย) 3. สร้างการมีส่วนร่วมภาคีภาครัฐ เอกชน ชุมชน กระตุ้นการใฝ่เรียนรู้ของเด็กด้วยการอ่าน เล่านิทาน การเล่น ศิลปะ ดนตรี และฝึกภาษาที่ 2 ในศูนย์เด็กเล็ก และ รร.อนุบาล (Head ใฝ่เรียนรู้) 4. ส่งเสริมการเข้าถึงสื่อสาธารณะ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น SMS , E-book , Application เป็นต้น 1. มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2. ระบบการส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าเชื่อมโยงทุกระดับจนถึงชุมชน 3. ติดตามประเมินเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าภายใน 1 เดือน 4. มีการตรวจประเมินและรักษาการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ และเครือข่าย จนถึงชุมชน 2. Coaching ด้วยระบบการติดตามและส่งเสริมมาตรฐานการคัดกรองและการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 3. สนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 4. ประสานความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ชุมชน สนับสนุนงานพัฒนาการเด็ก 1.สร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการจัดการปัญหาสุขภาพ Strong : สธ ,อปท Social : พม ,อปท Security : อปท ,พม 1.ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2.ศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (COC : Continuing of care) 3.คลินิกผู้สูงอายุ รพศ/รพท ทุกแห่ง (แพทย์เวชศาสตร์/ผู้สูงอายุ/อายุรกรรม /พยาบาล เฉพาะทางผู้สูงอายุ) 4.การเตรียมความพร้อม Pre-Aging (อายุ ปี) 5.Intermediate care Ward (รพศ./รพท) Intermediate care bed (รพช. 1-3 เตียง) 6. อารยสถาปัตย์ของสถานบริการสาธารณสุข (ทางลาด/ห้องน้ำ/ราวจับ/ที่จอดรถผู้พิการ ผู้สูงอายุ) 7.การปรับปรุงบ้านที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 1.การใช้ พรบ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2546 2.ส่งเสริม บทบาท อปท. ตาม พรบ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 3.หน่วยบริการสาธารณสุข มีการจัดบริการให้ตามสิทธิ สะดวก รวดเร็ว 1.ส่งเสริมบทบาทของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2.บันทึกความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (MOU) เช่น สธ, อปท, พม, ภาคประชาชนฯ 3.ส่งเสริม Health Literacy 4.สร้างความตระหนัก การส่งเสริมสุขภาพ ลด ละเลิกพฤติกรรมเสี่ยง (3อ. 2ส.) 5.การดูแลผู้สูงอายุ ภายใต้แนวคิด “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร CM,CG.FCT , อสม, อสค ตลอดจนแพทย์เฉพาะทางผู้สูงอายุ ,พยาบาลเฉพาะทางผู้สูงอายุ 2.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง 3.การจัดการความรู้ การค้นหา Best Practice และ Model การพัฒนาการดำเนินงาน กิจกรรมสนับสนุน 1. ประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนารูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ , ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. การมีสื่อสาธารณะในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น SMS , E-book , Application เป็นต้น ระดับความ สำเร็จ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ประสานงานการดำเนินงานร่วมกับ 4 กระทรวงหลัก ส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประกาศ code milk พัฒนาบุคลากร อบรมหลักสูตร PG เด็ก ใช้ข้อมูลจาก HDC ในการกำกับติดตามการดำเนินงานและวิเคราะห์วางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สร้างความตระหนักรู้ (Health Literacy) ให้กับพ่อแม่/ผปค. ในชุมชนและ ศพด. 2. โรงเรียนพ่อแม่ เน้นการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก การเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย 4.0 (4 H : health, head, hand, heart) 3. สุ่มประเมินมาตรฐาน (Standardization) เด็กอายุ 42 เดือน 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างพลังเครือข่ายสร้างเด็กปฐมวัย 4.0 4. Coaching เสริมพลังในพื้นที่ 1. ประชุมติดตามความก้าวหน้าขับเคลื่อนพัฒนาการระดับเขต 1 ครั้ง 2 เด็กปฐมวัย (4 กลุ่มอายุ)ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 70 3. เด็กปฐมวัยที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม 1 เดือน ร้อยละ 80 4. เด็กพัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาฟื้นฟูตามระบบ ร้อยละ 90 5. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 75 6. เด็กปฐมวัยสูงดีสมส่วน ร้อยละ 50 1. พยาบาลเข้ารับการอบรมหลักสูตร PG เด็ก จำนวน 3 คน 2. เด็กปฐมวัย (4 กลุ่มอายุ)ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 80 3. เด็กปฐมวัยที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม 1 เดือน ร้อยละ100 4. พัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาฟื้นฟูตามระบบ ร้อยละ 100 5.เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 6. เด็กปฐมวัยสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 1.การสำรวจ บันทึกข้อมูลพื้นฐานผู้สูงอายุ 4 กลุ่ม และPre aging 2.บันทึกข้อตกลงของส่วนราชการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุ (คน/งบประมาณ/งบลงทุน) 4.จัดตั้งศูนย์ COC 5.จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร CM,CG.FCT , อสม, อสค ,แพทย์เฉพาะทางผู้สูงอายุ ,พยาบาลเฉพาะทางผู้สูงอายุ 2.มีการจัดทำ Care Plan ร้อยละ 100 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ30 4.มีคลินิกผู้สูงอายุใน รพศ/รพท ร้อยละ 50 5.มีการดำเนินการตามแผนการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 30 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ60 2.อปท.มีนโยบายสาธารณะด้านการดูแลผู้สูงอายุ 3.มีคลินิกผู้สูงอายุใน รพศ/รพท ร้อยละ 75 4.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ 60 5.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 10 (ประเมิน ADl) 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแล Care Plan ร้อยละ 90 2.มีคลินิกผู้สูงอายุ ใน รพศ/รพท ร้อยละ 90 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแล Care Plan ร้อยละ 90 4.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 20 (ประเมิน ADL) 5.มีผลงาน Best Practice อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เรื่อง


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google