ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Win Hotspot Wi-Fi Internet Service System Solution by.
Advertisements

E+M Commerce.
ขั้นตอนการสมัคร สู่ระบบไร้เอกสาร.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศ วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ 1.
การให้บริการหลักฐานการศึกษา แบบ One Stop Service สำนักทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นำเสนอโดย อ.พรพรรณ ศุภภิญโญพงศ์ อ.ปุษยาพร อุทัยพยัคฆ์
Warehouse and Material Handling
4. การใช้เช็คอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Check
Value Added Service : VAS. 2 ส่งสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ในราคาประหยัด.
e-Payment for e-Tourium
จากปัญหาการลดลงอย่างมากและ ต่อเนื่องของรายได้โทรศัพท์สาธารณะ ปี 2546 > 6,000 บาท ARPU 3,500 บาท / เครื่อง ปี 2550 < 2,000 บาท ARPU 900 บาท / เครื่อง ความ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อยู่ระหว่างดำเนินการ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
ระบบการชำระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Payment System
Electronic Payment System การชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
The Digital Firm : Electronic Business and Electronic Commerce
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
Market System Promotion & Development Devision
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ชีวิตง่ายๆ ในโลกดิจิทัล
Principles of Accounting I
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
Principles of Accounting II
แนวทางการออกแบบนามบัตร
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
สินค้าและบริการ.
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการเติมเงิน TOT3G ด้วยบัตรหรือโค้ด TOT Prepaid
Principles of Accounting I
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547แก้ไขเพิ่มเติมถึง.
กลไกการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา มาตรา ๒๐๙-๒๘๗/๒, ๓๖๗-๓๙๘
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการขาย
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
13 October 2007
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 4 หลักการบันทึกรายการทางบัญชี.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
เงินสดและการควบคุมเงินสด
การขายสินค้าออนไลน์.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
Principles of Accounting I
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Use Case Diagram.
การขายสินค้าออนไลน์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)

ฟังก์ชั่นการทำงานที่สำคัญของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซนั้นก็คือการจัดการในเรื่องระบบ การชำระเงินผ่าน อินเทอร์เน็ต ซึ่งธุรกิจอีคอมเมิร์ซส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับรูปแบบ การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการด้วย เงินตรา ในปัจจุบันมีวิธีพื้นฐานอยู่ 4 วิธี สำหรับผู้ค้าและผู้บริโภค ที่สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางใน การชำเงิน ไม่ว่าจะเป็นการชำระเงินบนธุรกิจแบบดั้งเดิมหรือแบบอิเล็กทรอนิกส์ก็ตาม ได้แก่ เงินสด เช็ค บัตรเครดิต และ บัตรเดบิต โดยการชำระเงินด้วยการโอนเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยม สูงที่สุด

บัตรชำระเงิน (Payment Card) บัตรเครดิต (Credit Card) บัตรเครดิตที่นิยมทั่วโลกได้แก่ บัตรวีซ่า (Visa) และ บัตรมาสเตอร์ (Master Card) รวมถึงบัตรเครดิตภายในประเทศของธนาคารต่างๆ ซึ่งบัตรเครดิตภายในประเทศ อาจเข้าร่วมเป็นสมาชิกกับทางวีซ่าและมาสเตอร์การ์ด เพื่อให้ได้มาซึ่งตราสัญลักษณ์ของบัตรวีซ่าหรือ บัตรมาสเตอร์การ์ดที่แสดงอยู่บนบัตร ที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้บริโภคในการนำไปใช้จ่ายได้อย่าง สะดวกทั้งภายในและนอกประเทศ การใช้งานบัตรเครดิตนั้น ธนาคารผู้ออกบัตรเครดิตจะมีการกำหนด วงเงินให้แก่ผู้ถือบัตรไว้ระดับหนึ่ง เพื่อให้ผู้ถือบัตรสามารถนำบัตรเครดิตไปใช้จ่ายในวงเงินที่กำหนดไว้ ซึ่งเมื่อครบกำหนดเวลาชำระเงิน ผู้ถือบัตรอาจเลือกชำระเงินเพียงบางส่วน โดยไม่จำเป็นต้องจ่ายครบตาม เต็มจำนวนก็ได้ แต่การเลือกชำระหนี้แบบผ่อนจ่ายธนาคารจะมีการคิดดอกเบี้ยจากผู้ถือบัตรตามอัตราที่ ตกลงกันไว้ วีซ่า (Visa) เป็นองค์กรเอกชนที่แสวงหาผลกำไร ทำหน้าที่ให้บริการระบบชำระเงินระดับโลกโดยมี ธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆ เป็นสมาชิก ทั้งนี้วีซ่าไม่ใช่ผู้ออกบัตรและไม่ได้เป็นผู้กำหนดอัตรา ค่าธรรมเนียมกับผู้บริโภค รวมถึงไม่ได้เป็นผู้ให้บริการทางการเงินแกผู้ถือบัตรกับร้านค้าโดยตรง ใน ขณะเดียวกันวีซ่าจะสร้างรายได้จากเหล่าสมาชิกในรูปแบบค่าธรรมเนียม เพื่อนำไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายด่าน การบริหารจัดการ วีซ่ามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์บัตรชำระเงิน เพื่อสร้างความสะดวกต่อผู้ ถือบัตรผ่านตราสัญลักษณ์ Visa ด้วยการบริหารจัดการระบบเครือข่ายการชำระเงินในนาม VisaNet ที่เหล่าสถาบันการเงินและธนาคารเป็นสามาชิก สามารถใช้เครือข่ายนี้เพื่ออนุมัติการทำ รายการ และการส่งรายการไปยังธนาคารผู้ออกบัตรเพื่อเรียกเก็บเงินจากผู้ถือบัตรต่อไป

บัตรเดบิต (Debit Card) บัตรเดบิตและบัตรเครดิตจะคล้ายคลึงกัน บัตรเดบิตธนาคารจะเป็นลูกหนี้ เรา ในขณะที่บัตรเครดิตธนาคารได้สำรองจ่ายแทนเราไปก่อน บัตรเดบิตจำเป็นต้องมีเงินฝากในบัญชีของ ผู้ถือบัตรก่อน สามารถนำมาใช้แทนเงินสดเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการต่างๆได้จากร้านค้าที่เข้าร่วมรับ บัตร โดยยอดเงินจะถูกหักโดยตรงจากบัญชีเงินฝากของผู้ถือบัตรโดยทันที บัตรชาร์จ (Charge Card) เป็นบัตรที่ไม่จำกัดวงเงินการใช้จ่าย ทำให้ผู้ถือบัตรไม่ต้องกังวลกับการ ใช้จ่ายเงินวงเงิน โดยผู้ถือบัตรชาร์จสามารถนำไปซื้อสินค้าและบริการก่อน แล้วจึงค่อยชำระยอดเต็มใน ภายหลัง ณ วันสิ้นงวดการเรียกเก็บเงิน ดังนั้นจึงไม่มีการคิดดอกเบี้ย แต่อย่างไรก็ตาม กรณีผู้ถือบัตรชำระ เงินไม่เต็มจำนวน ทางธนาคารจะดำเนินการคิดเบี้ยปรับหรือคิดดอกเบี้ยตามอัตราที่ตกลงกัน

เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash : e-Cash) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash : e-Cash) เป็นอีกหนึ่งรูปแบบของการชำระเงินด้วย การแปลงเงินจริงให้อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำไปจับจ่ายใช้สอยแทนการใช้เงินสดจริงๆ ดังนั้นผู้ใช้ จึงสามารถนำไปชำระเงินค่าสินค้าและบริการ ที่มียอดจำนวนเล็กน้อยหรือยอดจำนวนเงินมากๆก็ได้ ซึ่งคล้าย กับการชำระเงินด้วยเงินสด นอกจากนี้แล้ว ทางร้านค้ายังไม่ต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมที่ ทางธนาคารคิดเพิ่มจากการชำระเงินด้วยเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับความแตกต่างระหว่างเงินสด อีเล็กทรอนิกส์กับบัตรเครดิตคือ เงินสดอิเล็กทรอนิกส์เป็นระบบการชำระเงินแบบจ่ายก่อน (Prepaid Payment System) โดยผู้ใช้จะต้องชำระเงินก่อนแล้วจึงสามารถนำไปใช้จ่ายได้(เหมือนกับบัตรเด บิต) แต่บัตรเครดิตจะเป็น ระบบการชำระเงินแบบจ่ายที่หลัง (Postpaid Payment System) ที่ ผู้ถือบัตรสามารถนำไปซื้อสินค้าหรือบริการได้ก่อน แล้วค่อยผ่อนชำระในภายหลัง

เนื่องจากสถาบันการเงินภาคเอกชนแต่ละแห่งจะเป็นผู้ออกเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ลูกค้า และต่างก็มี มาตรฐานเป็นของตนเอง ทำให้การอำนวยความสะดวกระหว่างลุกค้าและร้านค้าที่รับทำธุรกรรมเงินสด อิเล็กทรอนิกส์นั้น ถูกจำกัดด้วยการต้องให้บริการเงินสดอิเล็กทรอนิกส์จากธนาคารเดียวกันเท่านั้น จึงส่งผล ต่อข้อจำกัดในเรื่องการนำเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ ไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดกับสถาบันการเงินแห่งอื่นๆได้ อย่างอิสระ ทำให้ไม่ได้รับการยอมรับในระดับสากล นอกจากนี้ข้อเสียประการหนึ่งเงินสดอิเล็กทรอนิกส์คือ เนื่องจากเงินสดอิเล็กทรอนิกส์เปรียบเหมือนกับเงินสดจริงๆ ที่สามารถตกอยู่ในมือผู้ใดก็ได้ โดยในหลาย ประเทศได้มีการกล่าวไว้ว่า เงินสดหรือเงินอิเล็กทรอนิกส์ ไม่เหมาะกับการทำธุรกรรมแบบออนไลน์ เพราะ ยากต่อการติดตามเหมือนกับการใช้จ่ายเงินสดที่ผู้ใช้อาจลักขโมยเงินสดมาจากใครก็ได้ ดังนั้นเงินสด อิเล็กทรอนิกส์จึงไม่ได้ถูกนำมาใช้ เพราะผู้บริโภคส่วนใหญ่มักใช้บัตรชำระเงินเพื่อทำธุรกรรมกับการค้า แบบดั้งเดิม

กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Wallet : e-Wallet)

บัตรจัดเก็บมูลค่า (Store-Value Cards) มูลค่าเงินที่ถูกบันทึกลงในบัตร ซึ่งแตกต่างจากบัตรเดบิตที่ต้องมีบัญชีในรูปของสมุดบัญชีฝากเงิน นอกจากมูลค่าเงินในรูปแบบ Pre-Paid ที่ผู้ถือบัตรหรือผู้ใช้บัตรต้องจ่ายล่วงหน้า เพื่อเติมเงิน หรือ เพิ่มมูลค่าเงินลงในบัตรแล้ว บัตรจัดเก็บมูลค่ายังสมารถนำมาใช้จัดเก็บรายละเอียดข้อมูลทางกายภาพของ ผู้ถือบัตร ซึ่งจะถูกเก็บรักษาไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ร่วมกับธนาคารหรือสถาบัน การเงินที่เป็นผู้ออกบัตร บัตรจัดเก็บมูลค่าสามารถเป็นได้ทั้งบัตรพลาสติกแบบแถบแม่เหล็กหรือ แบบไมโครชิปก็ได้ หรือที่มัก เรียกว่า สมาร์ทการ์ด โดยแถบแม่เหล็กและไมโครชิปนั้นสามารถ นำมาใช้บันทึกข้อมูล แต่บัตรสมาร์ท การ์ดจุข้อมูลได้มากกว่า ยิ่งไปกว่านั้นไมโครชิปที่ฝังอยู่บน บัตรสมาร์ทการ์ดนั้น เปรียบเสมือนกับหน่วย ประมวลผลคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่ช่วยให้ตัวบัตร สมาร์ทการ์ดมีความสามารถในการคำนวณและ จัดเก็บข้อมูลล่าสุดที่ถูกต้องลงไปในบัตร สมาร์ทการ์ด (Smart Cards) คือบัตรจัดเก็บมูลค่าที่บนบัตรจะมีไมโครชิปฝังอยู่ สามารถนำมา ประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายเช่น บัตรเดบิต การเก็บข้อมูลบัตรเครดิต และบัตรชาร์จ อีกทั้งยังจุ ข้อมูลได้มากกว่าบัตรแถบแม่เหล็กถึง 100 เท่า สมาร์ทการ์ดสามารถจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ข้อมูล ทางบัญชี ข้อมูลประกันสุขภาพเป็นต้น

บัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Strip Cards) สามารถนำมาใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลและทำการอัป เดตข้อมูลภายในได้ ด้วยการนำบัตรไปเสียบเข้ากับเครื่องอ่าน ซึงตัวเครื่องสามารถตั้งค่าเกี่ยวกับสกุลเงิน สำหรับการนำบัตรไปรูดกับเครื่องอ่าน สามารถเป็นไปได้ทั้งการหักเงินจากการชำระเงินค่าสินค้า หรือ การเพิ่มมูลค่าเงินจากการฝากเงินลงในบัตร บัตรแถบแม่เหล็กจัดเป็นบัตรประเภทที่ตัวบัตรไม่สามารถ ประมวลผลอะไรได้ตามลำพังจะต้องพึ่งพาอุปกรณ์กล่าวคือ ในการประมวลผลข้อมูลจะต้องนำบัตรแถบ แม่เหล็กเสียบกับตัวเครื่องจึงสามารถทำการอัปเดตข้อมูลได้ อย่างไรก็ตามแม้ว่าบัตรแถบแม่เหล็กและ สมาร์ทการ์ดจะสามารถนำมาใช้จัดเก็บเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ได้ก็ตาม แต่สมาร์ทการ์ดมีความเหมาะสม ต่อการใช้งานเพื่อดำเนินธุรกรรมเกี่ยวกับการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต เนื่องจากตัวบัตรมีความสามารถ ในด้านการประมวลผล

เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Check : e-Check)