งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ภายใต้แปลงใหญ่ นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

2

3 แนวคิดในการจัดการเกษตรกรรมแปลงใหญ่
รวมสมาชิก รวมผลิต รวมซื้อ รวมขาย บูรณาการ มีทีมผู้จัดการ ลดปัญหาแรงงาน มีสินค้าหลัก มีตลาดแน่นอน คน ภาครัฐ เกษตรกร ภาคเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนแบบบูรณาการตามความต้องการของพื้นที่และเกษตรกรภายใต้ภารกิจของหน่วยงาน Smart Farmer ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม Smart Group สนับสนุนการบริหารจัดการ การตลาด การรับซื้อผลผลิต และการแปรรูป คน สภาหอการค้า สภาอุตสาหกรรม พื้นที่ สินค้า มีความเหมาะสม พื้นที่ใกล้เคียงกัน มีข้อมูลและแผนที่รายแปลง ผลิตเชิงพาณิชย์ ต้นทุนลด ผลผลิตเพิ่ม คุณภาพดี เชื่อมโยงตลาด สมาคม ผู้ส่งออก/ สมาคม ผู้ค้าปลีก บริษัท ผลประโยชน์ร่วม หน่วยงานอื่นๆ ภาครัฐ เกษตรกร ภาคเอกชน 1. บริหารงาน เงิน คน มีประสิทธิภาพ 2. เกิดสมดุลของอุปสงค์ - อุปทาน 3. ความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตร 1. มีความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยี 2. รายได้เพิ่มและมั่นคง 3. มีตลาดแน่นอน 1.มีแหล่งซื้อสินค้าที่แน่นอนทั้งปริมาณและคุณภาพ 2. Social Business 3. CSR/ ชื่อเสียง

4 รวมแปลงใหญ่ทั้งหมด 503 แปลง
แปลงใหญ่ต้นแบบ 76 แปลง แปลงใหญ่ทั่วไป 192 แปลง แปลงใหญ่ใหม่ 235 แปลง แปลงใหญ่ข้าว กสก. 28 แปลง แปลงใหญ่ข้าว กข. 207 แปลง แปลงใหญ่ใหม่ รอการอนุมัติจากคณะอนุฯ จังหวัดและจะเริ่มดำเนินการในเดือนพฤษภาคม 2559 เป็นต้นไป

5 คณะกรรมการภาครัฐและเอกชนเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
(คณะกรรมการสานพลังประชารัฐ) รองนายกฯ (นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) : ประธาน นายอิสระ ว่องกุศลกิจ (บจก.น้ำตาลมิตรผล) ประธาน คกก.ร่วม หัวหน้าทีมภาครัฐและหัวหน้าทีมภาคเอกชน12 ชุด : กรรมการ มติ ครม. เมื่อวันที่ 15 ธ.ค.58 รับทราบการแต่งตั้ง คกก. ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ตัวขับเคลื่อน D1. การยกระดับนวัตกรรมและผลิตภาพ D2. การส่งเสริม SMEs & Start-up D3. การส่งเสริมการท่องเที่ยวและ MICE D4. การส่งเสริมการส่งออกและการลงทุนใน ตปท. D5. การพัฒนาคลัสเตอร์ ภาคอุตสาหกรรมที่เป็น New S-Curve D6. การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ D7. การสร้างรายได้และการกระตุ้น การใช้จ่ายของประเทศ ปัจจัยสนับสนุน E1.การดึงดูดการลงทุนและการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ E2.การยกระดับคุณภาพวิชาชีพ E3.การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ E4.การปรับแก้กฎหมายและกลไกภาครัฐ E5.การศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ ยุทธศาสตร์หลัก (Grand Strategy) 4 เสาหลัก 1) ธรรมาภิบาล 2) นวัตกรรมและผลิตภาพ 3) การยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ 4) การมีส่วนร่วมในความมั่งคั่ง รมว.กษ.: หัวหน้าทีมภาครัฐ นายอิสระ ว่องกุศลกิจ : หัวหน้าทีมภาคเอกชน D6 E3 รมว.มท.: หัวหน้าทีมภาครัฐ นายฐาปน สิริวัฒนภักดี : หัวหน้าทีมภาคเอกชน รมว.กษ.: คณะทำงาน ลดความเหลื่อมล้ำ พัฒนาคุณภาพคน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน หมายเหตุ : D (value driver) ตัวขับเคลื่อน, E (enable factors) ปัจจัยสนับสนุน 10/03/59

6 D6.คณะทำงานการพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่
ภาครัฐ ภาคเอกชน พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รมว.กษ.(หัวหน้าทีมภาครัฐ) ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รมช.พณ. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ประธานที่ปรึกษา รมว.พณ. ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สวทช. น.ส.วิบูลย์ลักษณ์ ร่วมรักษ์ อธิบดีกรมการค้าภายใน รศ.ดร.ศรเทพ ธัมวาศร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายอิสระ ว่องกุศลกิจ บมจ. น้ำตาลมิตรผล (หัวหน้าทีมภาคเอกชน) นายอดิเรก ศรีประทักษ์ บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย / บจ. เวสส แอนด์ โก ยูนิเวอร์ส นายศุภชัย เจียรวนนท์ บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด นายเชาวลิต เอกบุตร บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด นายชูศักดิ์ ชื่นประโยชน์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย / บจ. กำแพงแสนคอมเมอร์เชียล ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย นายวนัส แต้ไพสิฐพงษ์ บมจ. เบทาโกร นายธีรพงศ์ จันศิริ บมจ. ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป นายบรรเทิง ว่องกุศลกิจ บจ. น้ำตาลมิตรผล นายประสิทธิ์ ดำรงชิตานนท์ บจ. ซี.พี. อินเตอร์เทรด นายสมัย ลี้สกุล บจ. อาเซียนโปแตสชัยภูมิ นายปณต สิริวัฒนภักดี บมจ. ยูนิเวนเจอร์ ทพ.พงษ์ศักดิ์ เกิดวงศ์บัณฑิต บจ. วงศ์บัณฑิต นายพฤฒิ เกิดชูชื่น บจ. แดรี่โฮม นายอดุลย์ เกิดวังตาล สมาคมผู้เลี้ยงโคนมไทยโฮลสไตน์ ฟรีเชี่ยน (ส.ท.ฮ.) คณะทำงานย่อย 5 กลุ่ม ประกอบด้วย - พืช - สัตว์บกเล็ก(ไก่ สุกร) - สัตว์บกใหญ่ (โคเนื้อ โคนม) - สัตว์น้ำ - สินค้าเกษตรสร้างรายได้เร็ว (Cash Crop)

7 กรอบการทำงาน D6.การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่
แผนงานระยะสั้น (6 เดือน) เป้าหมาย 1. พัฒนาสหกรณ์การเกษตรต้นแบบ ให้เป็น Smart SME เกษตร ลดการเหลื่อมล้ำ ระหว่างภาคเกษตร และนอกภาคเกษตร 2. พัฒนาเกษตรแปลงใหญ่ (ขนาดแปลงที่เหมาะสมเชิงเศรษฐกิจ) 3. สินค้าเกษตรสร้างรายได้เร็ว (Cash Crop) พัฒนาเกษตรกร ให้เป็น Smart Farmer และ SME เกษตร แผนงานระยะกลาง-ยาว (1 ปีขึ้นไป) 4. ผลักดันงานวิจัย พัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการเกษตร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตร 5. นำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มาพัฒนา Application เพื่อการเกษตร และ ทะเบียนเกษตรกร

8 แปลงใหญ่เกษตรสมัยใหม่
แปลงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 16 แปลง 8 สินค้า ได้แก่ ข้าว 3 แปลง อ้อย 1 แปลง มันสำปะหลัง 1 แปลง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3 แปลง กุ้งขาว 1 แปลง ปลานิล 2 แปลง ผักผลไม้ 4 แปลง สมุนไพร 1 แปลง แปลงใหญ่เกษตรสมัยใหม่ภาคเอกชน 21 แปลง 7 สินค้าได้แก่ ข้าว 5 แปลง อ้อย 1 แปลง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1 แปลง โคเนื้อโคนม 1 แปลง กุ้งขาว 5 แปลง ผักผลไม้ 7 แปลง หม่อน 1 แปลง

9 แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
10 แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลานิล อ.พาน จ. เชียงราย 13 ลำไย จ. น่าน ข้าว อ.สูงเม่น จ. แพร่ 1 ผักและผลไม้ จ. พิษณุโลก 12 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ. พิษณุโลก 4 14 อ้อย อ. ศรีนคร จ.สุโขทัย 8 15 6 5 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ. ชนแดน จ. เพชรบูรณ์ 7 กะหล่ำปลี อ. พบพระ จ. ตาก 2 3 ข้าว อ. ห้วยทับทัน จ. ศรีสะเกษ 11 มันสำปะหลัง อ. ด่านขุนทด จ. นครราชสีมา ผัก อ. พรานกระต่าย จ. กำแพงเพชร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ. วังม่วง จ. สระบุรี ข้าว อ. เดิมบางนางบวช จ. สุพรรณบุรี 16 ปลานิล จ. ชลบุรี 9 สมุนไพร จ. สุราษฎร์ธานี กุ้งขาว อ. ปากพนัง จ. นครศรีธรรมราช

10 อ. หัวตะพาน จ. อำนาจเจริญ
ข้าว อ.จุน จ.พะเยา หม่อน อ.เชียงกลาง จ.น่าน แปลงใหญ่เอกชน 1 ข้าว อ.เมือง จ. พิษณุโลก 21 ผักผลไม้ จ. สกลนคร อ. หนองวัวซอ จ. อุดรธานี 19 ข้าว อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 2 5 อ้อย อ. เมือง อ.เสนานิคม อ. หัวตะพาน จ. อำนาจเจริญ 6 3 ผักผลไม้ จ. นครปฐม ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 7 8 4 14 16 โคเนื้อ โคนม อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา 10 ข้าว อ.ราษีไศล จ. ศรีสะเกษ ผักผลไม้ จ. ราชบุรี 15 20 9 11 ผักผลไม้ จ. เพชรบุรี 12 กุ้งขาว จ. จันทบุรี กุ้งขาว จ. จันทบุรี ผักผลไม้ จ. พังงา 18 17 ทุเรียน จ. จันทบุรี 13 กุ้งขาว จ. ตราด ผักผลไม้ จ. นครศรีธรรมราช กุ้งขาว จ. ตรัง กุ้งขาว จ. ตราด

11 กรณีตัวอย่าง : ปาล์มน้ำมันแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
กรณีตัวอย่าง : ปาล์มน้ำมันแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ภาครัฐ ทำอะไร.... อบรมและตรวจรับรอง การผลิตตามมาตรฐาน RSPO ได้อะไร.... ผลผลิต 100 % ได้มาตรฐาน RSPO เพิ่มคุณภาพผลผลิต ทำอะไร.... 1. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ตามค่าวิเคราะห์ดิน 2. ซื้อปัจจัยการผลิต ร่วมกัน ลดต้นทุนการผลิต ได้อะไร.... ต้นทุนการผลิตลดลง จาก 6,808 บาท/ไร่ เป็น 4,752 บาท/ไร่ (ลดลงร้อยละ 42) ภาคเอกชน 1. บริหารจัดการแปลง 2. พัฒนาเกษตรกร เป็น Smart Farmer 3. พัฒนาวิสาหกิจชุมชน 4. จับพิกัดรายแปลง (งบประมาณ 302,900 บาท) ทำอะไร.... 1. ใช้พันธุ์ดี 2. ใช้ปุ๋ยถูกต้อง และเหมาะสม เพิ่มผลผลิต ได้อะไร.... ผลผลิตเพิ่ม จาก 3.2 ตันต่อไร่ เป็น 4.2 ตันต่อไร่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 32) สำนักงานเกษตรจังหวัดตรัง บริษัท ล่ำสูง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สำนักงาน ตรวจบัญชี สหกรณ์ จังหวัดตรัง อบรมการจัดทำบัญชีต้นทุน อาชีพ คน  สมาชิก 99 ราย  Smart Farmer 28 ราย  วิสาหกิจชุมชน 1 กลุ่ม สนับสนุนด้านการผลิต 1. พัฒนาการผลิตให้ได้มาตรฐาน RSPO (งบประมาณ 650,000บาท) 2. สนับสนุนทะลายปาล์ม และขี้เค้ก ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ฟรี ฝ่ายส่งน้ำ และบำรุงรักษา ที่ 2 ปตร.กะลาเส โครงการ ชลประทานตรัง 1. จัดทำแปลงเรียนรู้การใช้น้ำ 2. ขุดลอกคลองส่งน้ำและกำจัดวัชพืช หน้าประตูระบายน้ำ (งบประมาณ 525,000 บาท) 1.จัดตั้งธนาคารปุ๋ยหมัก 2.สนับสนุนการปรับปรุงบำรุงดิน โดยใช้ โดโลไมท์และปอเทือง 3.ทำแผนที่รายแปลง (งบประมาณ 573,000 บาท) พื้นที่ ปลูกปาล์มน้ำมัน 2, ไร่  เป็นพื้นที่ S1 ทั้งหมด  แปลงย่อย 182 แปลง ในเขตชลประทาน 1, ไร่ ทีมผู้จัดการ เกษตรอำเภอนายธีระ วิวัฒนานนท์ เกษตรตำบลนายชัยนาท คงเขียว  ประธานวิสาหกิจฯ นายชัยฤทธิ์ ถ่ายย้วน  เกษตรกรต้นแบบ นายวิวัฒน์ ฮ่างเต็ก สถานีพัฒนา ที่ดินจังหวัดตรัง สินค้า  ผลผลิต 3.2 ตัน/ไร่ ต้นทุนการผลิต 6,808 บาท/ไร่  คุณภาพมาตร RSPO การบริหารจัดการ 1. วางแผนการผลิตให้สอดคล้อง กับกำลังการผลิตของโรงงาน 2. วางแผนการเก็บเกี่ยวให้ผลผลิตมีคุณภาพสูง สำนักงาน สหกรณ์ เขาไม้แก้ว จำหน่ายปุ๋ยเคมีให้แก่สมาชิก ในราคาต้นทุน ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการเกษตร ตรัง สร้างแปลงต้นแบบการจัดการสวน ที่ถูกวิธี 5 แปลง (งบประมาณ 137,000 บาท) ทำอะไร.... 1. จัดทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Contract Farming) กับบริษัท 2. ซื้อผลผลิตราคาสูงกว่าตลาด 10 – 20 สตางค์ต่อกิโลกรัม ได้อะไร.... 1. มีตลาดแน่นอน 2. เกษตรกรมีรายได้เพิ่ม การตลาด ทำอะไร.... 1. วางแผนและบริหารจัดการ การผลิต/ปัจจัยการผลิต/ การตลาด 2. ร่วมกันบริหารจัดการน้ำ 3. ส่งเสริมอาชีพเสริมรายได้ 4. สนับสนุนวิสาหกิจชุมชน ปาล์มน้ำมันฯ การบริหารจัดการ ได้อะไร.... 1. ผลผลิตออกทั้งปี 2. มีรายได้ต่อเนื่อง 3. มีความมั่นใจในเรื่องราคา และตลาด 4. เกษตรกรมีรายได้เสริม จากการเลี้ยงผึ้ง 50 ราย และเลี้ยงแพะ 1 ราย การตลาด 1. ซื้อแบบข้อตกลงล่วงหน้าสูงกว่า ราคาตลาด 10 – 20 สตางค์/กิโลกรัม 2. ขายปาล์มน้ำมันโดยไม่ติดคิว (ทางด่วน) สำนักงาน เศรษฐกิจ การเกษตร เขต 9 สงขลา จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานรายแปลง ธนาคารเพื่อ การเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร สนับสนุนสินเชื่อให้สมาชิก แปลงใหญ่ดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี สำนักงานเกษตร และสหกรณ์ จังหวัดตรัง สำรวจภาวะเศรษฐกิจครัวเรือนเกษตรกร (งบประมาณ 173,000 บาท) ประชารัฐ ศักยภาพผู้จัดการแปลง ชุมชนเข้มแข็ง ตลาดนำการผลิต อบต.กะลาเส/ อบต.เขาไม้แก้ว/ เทศบาลตำบล ควนกุน สนับสนุนการประชุมและถ่ายทอด เทคโนโลยี เช่น การประชาสัมพันธ์ , เต็นท์ เป็นต้น ปัจจัยแห่งความสำเร็จ


ดาวน์โหลด ppt สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google