TK Palace Hotel, Bangkok

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค.
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
Real Time Cohort Monitoring RTCM
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

TK Palace Hotel, Bangkok โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรและ ระบบการดูแลสุขภาพในการ ให้บริการยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงถึงระดับซีดี 4 และ การให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ (PrEP) เพื่อลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง (MSM/TG) PrEP2 START Starting Pre-Exposure Prophylaxis and immediate ARV to reduce HIV transmission among MSM/TG in Thailand Multisite meeting Feb 20, 2018 TK Palace Hotel, Bangkok แพทย์หญิงวลัยรัตน์ ไชยฟู สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Same-day result HIV Testing กรอบแนวคิดโครงการ Same-day result HIV Testing Reach & Recruit Rapid ARV Treatment Prevention & PrEP HIV-negative HIV-positive R E T A I N วัตถุประสงค์ ค้นหาและเข้าถึง MSM/TG ที่มีเชื้อเอชไอวีเพื่อส่งต่อบริการตรวจเอชไอวีให้ทราบสถานะการติดเชื้อของตนเองโดยเร็วที่สุด ส่งต่อ MSM/TG ที่มีเชื้อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา และติดตามให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (Test and Start) สร้างเครือข่ายและพัฒนาศักยภาพของระบบการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 90-90-90 ค้นหาและเข้าถึง MSM/TG ยังไม่ติดเชื้อเอชไอวีแต่มีความเสี่ยงสูง และเสนอบริการ PrEP ให้เป็นทางเลือกในการป้องกันตนเอง ตลอดจนสร้างความเข้าใจและความต้องการสำหรับประชากรกลุ่มนี้ต่อบริการ PrEP

พื้นที่ในการดำเนินงาน PrEP2START PrEP2START โครงการสนับสนุนและติดตามการดำเนินงานทั้งระบบ (RRTTR) อุดรธานี ร.พ.อุดรธานีและร.พ.เครือข่าย ขอนแก่น ศูนย์แพทย์ชาตะผดุง ภูเก็ต ร.พ. ป่าตอง กรุงเทพ รพ.บางรัก โครงการสนับสนุนการบริการเพร็พ กรุงเทพ ร.พ.เลิดสิน ขอนแก่น ร.พ.ศูนย์ ขอนแก่น ร.พ. ศรีนครินทร์ ร.พ.ชุมแพ นนทบุรี ร.พ.พระนั่งเกล้า ชลบุรี ร.พ. มหาวิทยาลัยบูรพา นครราชสีมา ร.พ.เทพรัตน์ จังหวัดโฟกัสสามจังหวัดเราสนับสนุนครบทุกกิจกรรม แต่จังหวัด above site ที่ทีมหมอเอกทำเราสนับสนุนแค่การพัฒนาศักยภาพให้เปิดบริการเพร็พได้ และยาได้จาก KM เหมือนกันทุกไซทืค่ะ

I n t e r v e n t I o n ตรวจคัดกรอง Test รักษาเร็ว Treat ดูแลต่อเนื่อง เข้าถึงและเชิญชวน Reach & Recruit ตรวจคัดกรอง Test รักษาเร็ว Treat ดูแลต่อเนื่อง Retain จัดทำแผนที่และข้อมูลชุมชน Peer education outreach สร้างความต้องการตรวจผ่านสื่อและกิจกรรมพิเศษต่างๆ(ข้อมูลผ่านเว็บ buddy station.org กิจกรรมส่งเสริมการตรวจเอชไอวีต่างๆ) ใช้ case manager เพื่อติดตามดูแลผู้ติดเชื้อให้ได้รับการดูแลรักษา ค้นหาอุปสรรคในการติดตามดูแลผู้ติดเชื้อ เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา เช่น ลดความถี่ของการนัดติดตามคนไข้ในรายที่สุขภาพแข็งแรงดีและกินยาสม่ำเสมอ ตรวจเอชไอวีนอกสถานพยาบาล (mobile testing) ขยายเวลาบริการของคลินิกที่มีความพร้อม เพื่อให้บริการตรวจเอชไอวีนอกเวลาปกติ ลดอุปสรรคในการให้บริการตรวจเอชไอวี เช่น ค่าใช้จ่ายสำหรับชุดตรวจแบบทราบผลเร็ว เพื่อให้ทราบผลในวันที่ตรวจ แจ้งเตือนคนไข้เมื่อใกล้วันนัดติดตาม ผ่านช่องทางต่างๆ เสริมสร้างความเข้มแข็งของทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายเพื่อการส่งต่อภายในจังหวัด Prevention PrEP ด้านห้องปฏิบัติการ สร้างความตระหนักและความต้องการบริการ PrEP ในกลุ่ม MSM/TG และกลุ่มประชากรอื่นที่มีความเสี่ยงสูง พัฒนาชุดข้อมูลสำหรับการให้ความรู้และคำปรึกษาเกี่ยวกับยา PrEP พัฒนาแนวทางปฏิบัติในระดับประเทศเกี่ยวกับการให้บริการ PrEP เสริมสร้างศักยภาพผู้ให้บริการ PrEP ได้แก่ เจ้าหน้าที่สถานพยาบาล และแกนนำ MSM/TG) เพิ่มการเข้าถึงบริการ PrEP ที่สถานพยาบาลปฐมภูมิ เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 90-90-90 โดยจัดตั้งคณะทำงานในระดับจังหวัดและคณะทำงานในสถานพยาบาลเพื่อประชุมร่วมกัน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาอุปสรรคและพัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับการประสานงานและทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลระหว่างเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ และคลินิกยาต้านฯ ในสถานพยาบาล เสริมสร้างเครือข่ายการใช้ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความครอบคลุมในการตรวจปริมาณเชื้อเอชไอวีในเลือด (HIV viral load) และการติดตามดูแลรักษา การดูแลคุณภาพข้อมูลเพื่อการปรับปรุงการดำเนินงาน (ฐานข้อมูลโครงการ และฐานข้อมูล NAP)

PrEP PrEP_SU PrEP_SL PrEP_LAB PrEP_Package -กลไกการบริหารโดย สสจ. -สนับสนุนการเชื่อมโยง การส่งต่อ ใน โรงพยาบาล -พัฒนาศักยภาพ/องค์ ความรู้ เรื่อง Sensitivity -Data utilization -จัดทำแนวทางการ ป้องกันและแก้ไขการ เกิด Misdiagnosis - รูปแบบการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย - สื่อ - www.buddystation.org - การบริการโดยภาครัฐ - ในคลินิก - PCU - การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร Counseling Peer E-learning - รูปแบบการติดตาม - Case management - ส่งเสริม Partner notification and Partner testing (PN&PT) - พัฒนาหลักสูตรและจัดการอบรม Case manager และ HIV-Co - รูปแบบการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีการปรับปรุงคุณภาพการบริการ - เครือข่ายการตรวจ VL & DR - Capacity building ทำ Software Alert - คุณภาพข้อมูลและ ระบบบริการ - แนวทางการจัดบริการ เพร็พ - รูปแบบการขยายบริการ ในภาครัฐ - TG - MSM - PWID - ใช้แรงจูงใจในการดึง กลุ่มเป้าหมายเข้ารับ บริการ - ยา - Lab ฟรี

ผลการดำเนินงาน PrEP SU 3.จัดทำแนวทางการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลทางการแพทย์ สำหรับผู้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส *จัดประชุมผู้เชี่ยวชาญสหสาขาวิชาชีพ และผู้ปฏิบัติงานงานเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยเอชไอวี/เอดส์ พิจารณาแนวทางการดำเนินการ กรณีพบผลการตรวจไม่สอดคล้องกัน (HIV Test Results Discrepancy) * พิจารณาการสำรวจ และทดลองการใช้แนวทางฯ 4.พัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษา โดยใช้ประโยชน์จาก NAP Web report - จัดทำหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพบุคลากรสุขภาพ - จัดทำแนวทางการใช้ประโยชน์จาก NAP Web report ในการ ติดตามการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ - จัดอบรมTOT การพัฒนาทีมบุคลากรการดูแลรักษาโดยการใช้ ประโยชน์จาก NAP Web report ระดับเขตจังหวัดและ รพ. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมและพัฒนารูปแบบการให้บริการและจัดบริการ PrEP ให้แก่หน่วยงานรัฐ ในกลุ่ม MSM/TG และกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรสุขภาพด้านการดูแลรักษา การใช้ประโยชน์ข้อมูล(Data utilization) และให้มีองค์ความรู้ที่ทันสมัย เพื่อการควบคุมคุณภาพบริการ ลดปัจจัยการเกิดการวินิจฉัยผิดพลาด (Misdiagnosis) มีแนวทางการแก้ไขปัญหา แก้ไขวัตถุประสงค์

ผลการดำเนินงาน PrEP SL 1.พัฒนา Case Management สนับสนุนผู้จัดการ case (Case Manager) ในการทำงาน * ดูแลผู้รับบริการ MSM/TG ในคลินิก * ผู้ที่ตรวจและพบ negative เสนอบริการ PrEP และส่งต่อรับบริการ PrEP * ส่งต่อ case HIV positive เข้าสู่การรักษาอย่างรวดเร็ว และช่วย retention in care ในโรงพยาบาล * กิจกรรมส่งเสริม Mobile VCT สำหรับกลุ่มเป้าหมาย 2. กิจกรรม PN&PT (Partner notification and Partner testing) พัฒนาศักยภาพ Case Manager ด้าน ส่งเสริมการแจ้งผลเลือดแก่คู่และนำพาคู่รับการตรวจ Anti HIV สำหรับผู้รับบริการ MSM/TG * ประชุมคณะทำงานที่ส่วนกลางในการพัฒนาระบบบริการ * ประชุมทบทวนหลักสูตร PN&PT * จัดการอบรม 1) PN&PT 2) การจัดการด้านการบริการ การเก็บรวบรวมข้อมูล และ 3) การติดตามผู้รับบริการให้ได้รับบริการต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงาน Case Management และ ส่งเสริมการแจ้งผลเลือดแก่คู่และนำพาคู่รับการตรวจ Anti HIV (PN&PT)สำหรับผู้รับบริการ MSM

ผลการดำเนินงาน PrEP2START-Lab ดำเนินงาน 2 จังหวัด : จ.ขอนแก่น และ จ.อุดรธานี พัฒนาคุณภาพบริการด้าน Lab และอบรมการใช้เครื่องมือในการจัดการข้อมูล ผลที่ได้ บุคลากรด้าน Lab ให้มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของนโยบาย ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ที่จะ นำไปสู่การยุติปัญหาเอดส์ อบรมการพัฒนาคุณภาพบริการ เพื่อให้งานด้าน Lab สนับสนุนงานด้านการดูแลรักษา โดยทำงาน ร่วมกันเป็นเครือข่าย (หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัด และเขต) หน่วยบริการสุขภาพระดมสมองคิด QI project เพื่อสนับสนุน HIV Cascade ของหน่วยบริการและ จังหวัดของตนเอง ประเด็น QI project ที่สนใจ HIV testing พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูล VCT และผลการตรวจ HIV ให้สมบูรณ์ ครบถ้วน และทันเวลา ผู้ป่วยที่ตรวจ anti-HIV ผลเป็นบวก ได้รับการลงทะเบียน NAP ทันที Lab สามารถแจ้งเตือนผล HIV ที่เป็นบวกให้กับ HIV-Coordinator ทุกราย VL Coverage ตรวจสอบข้อมูลคนไข้ที่ได้รับยาและยังไม่ได้ตรวจ VL VL > 1,000 copies : ประเด็นการส่ง LAB และการรายงานผลที่ช้า การลงผล CD4 และ VL ในโปรแกรม HosxP และ LIS ของ รพ.

องค์ประกอบการจัดบริการ 2. รูปแบบบริการ 3.การติดตาม/ประเมินผล 1. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ความรู้เรื่องยา PrEP, Laboratory,STI,ICD-10 2. คลินิกเฉพาะสำหรับกลุ่มประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย แต่ไม่เบ็ดเสร็จในที่เดียวกัน (Separated clinic) 1. คลินิกให้บริการเบ็ดเสร็จในที่เดียว (One stop service) www.prepthai.net ทัศนคติในการให้บริการ และการสื่อสาร การค้นหา-เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 3. ให้บริการทั่วไป ไม่มีคลินิกเฉพาะกลุ่มประชากร 4. คลินิกเฉพาะโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ primary care การให้บริการปรึกษาเฉพาะกลุ่ม แนวทางการจัดบริการ PrEP การให้บริการปรึกษา+จัดบริการ 4.หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการจ่ายเงินโครงการจัดบริการ การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ปี 2562

ผลการดำเนินงานโครงการ PrEP2START ข้อมูลจาก PrEPthai.net 1 ต.ค. 2559 – 31 ธ.ค. 2560 ข้อมูลจาก PrEPTHAI จะเป็นข้อมูลในส่วนของทุกรพ.ที่รายงานเข้ามาตามตัวชี้วัด ความต่างกับภูเก็ต อุดร ขอนแก่น และบางรักคือ สี่ที่นี้จะกรอกฐานข้อมูลโครงการซึ่งมีข้อมูลตั้งแต่ตรวจ กินเพร็พ และการรักษาด้วย เพราะสี่จังหวัดนี้ทำครบทั้ง cascade * ไม่รวมรพ.บางรัก เนื่องจากการย้ายหน่วยบริการ ทำให้ยังไม่สามารถเปิดบริการได้

จำนวนผู้รับบริการ PrEP(ยอดสะสมรวมทุกรพ.) PrEP KM target in 2560 = 750 รวมทุกกลุ่มเสี่ยง (MSM+TG+คู่ผลเลือดต่าง+กลุ่มเสี่ยงอื่นๆ)

หน่วยบริการกทม.เริ่มให้บริการ จำนวนผู้รับบริการ PrEP (ยอดแต่ละเดือนรวมทุกรพ.) หน่วยบริการกทม.เริ่มให้บริการ

ผลการให้บริการ PrEP (ข้อมูลรวมทุกรพ.) MSM = 2,631 TG = 380 Discordant = 338 MSM = 2,356 TG = 350 Discordant = 328 MSM = 1,478 TG = 222 Discordant = 199 MSM = 170 TG = 19 Discordant = 78 90.6% MSM = 72 TG = 10 Discordant = 28 62.6 % 14% ข้อมูลจาก PrEPthai.net => ปีงบประมาณ 2560 มี 33 รพ.และปี 2561 มี 22 รพ. *กลุ่มเสี่ยงอื่น มีรับ PrEP counseling 200 คน และตกลงกิน PrEP 8 คน

การเปรียบเทียบการตอบรับบริการเพร็พในแต่ละกลุ่ม ต.ค. 2559 – ธ.ค. 2560 8.5% ตอบรับเพร็พใน กลุ่ม TG ในจำนวนผู้ตอบรับ 53% หยุดเพร็พแล้ว 12% ตอบรับเพร็พใน กลุ่ม MSM ในจำนวนผู้ตอบรับ 42% หยุดเพร็พแล้ว 39% ตอบรับเพร็พในกลุ่ม discordant couples ในจำนวนผู้ตอบรับ 36% หยุดเพร็พแล้ว

ผลการดำเนินงานใน 3 จังหวัด Site-level ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต* โครงการสนับสนุนและติดตามการดำเนินงานทั้งระบบ (RRTTR) (ข้อมูลจากโปรแกรมฐานข้อมูล PrEP2START) 1 ต.ค. 2559 – 31 ธ.ค. 2560 * ไม่รวมรพ.บางรัก เนื่องจากการย้ายหน่วยบริการ ทำให้ยังไม่สามารถเปิดบริการได้

การให้บริการ PrEP2START-SL ข้อมูล 3 จังหวัด ขอนแก่น อุดรธานี ภูเก็ต การให้บริการ PrEP2START-SU ข้อมูล 3 จังหวัด นนทบุรี นครราชสีมา ชลบุรี 37% *ไม่รวม Inconclusive test result = 4 คน

ลักษณะทางประชากรของผู้รับการตรวจเอชไอวี ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต (N=2,265) 22 ปี (14 – 56 ปี) อายุ (median) MSM=81% TG=14% คู่ผลเลือดต่าง=3% อื่นๆ = 2% กลุ่มประชากร 33% ไม่ใช้ถุงยางครั้งล่าสุดที่มี SEX มาเอง 34% แกนนำ 30% เพื่อน 10% จนท. 10% อื่นๆ= 16%* แนะนำมาโดย 51% ตรวจผ่านบริการ mobile 62% ไม่เคยตรวจเอชไอวีมาก่อน *อื่นๆ 16% = สื่อ off-line เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ ป้าย และสื่อ on-line เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ เว็บไซต์ เว็บบอร์ด

ความสม่ำเสมอในการกิน PrEP (คนที่บอกยังกินอยู่และกินทุกวันในสัปดาห์ที่ผ่านมา) ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต

การเชื่อมต่อจากการตรวจ HIV สู่การดูแลรักษา ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต 13 % 95 % * ข้อมูลยังไม่ได้ตรวจสอบกับฐานข้อมูลโปรแกรม NAP

ตรวจนอกคลินิก (mobile) การเชื่อมต่อจากการตรวจ HIV สู่การดูแลรักษา (ระหว่างบริการที่คลินิก VS บริการนอกคลินิก) ตรวจที่คลินิก ตรวจนอกคลินิก (mobile) อายุ (median) 18 ปี MSM 85% ตรวจครั้งแรก 75% อายุ (median) 25 ปี MSM 86% ตรวจครั้งแรก 49% 22% (Median CD4 = 301) (Median CD4 = 273) ตรงตรวจนอกคลินกตัวเลขข้อมูล CD4 มันสูงกว่า ตัวเลขที่มี NAP ID น่าจะเป็นเพราะทางพื้นที่ลงข้อมูล NAP ID ไม่ครบค่ะ และตัวเลขในฐานข้อมุลโครงการ ยังไม่ได้ recheck กับ NAP data base ถ้าเช็คแล้วคิดว่าคนบวกที่ได้ยาน่าจะสัดส่วนมากกว่านี้นะคะ ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต

การรายงานการตรวจ CD4 ในผู้รับบริการผลเอชไอวีบวก เปรียบเทียบระหว่างปี 2559 และ 2560 กิจกรรมเชิงรุก ตรวจ เข้าสู่ระบบ รักษา ป้องกัน (N = 308) กิจกรรมเชิงรุกเพื่อตรวจยืนยัน (N = 318) ขอนแก่น อุดรธานี และภูเก็ต

TEST REACH RETAIN TREAT RECRUIT สรุปผลและความท้าทาย ทราบผลวันที่ตรวจ กินยาต้านไวรัสเร็ว ติดตามต่อเนื่อง REACH TEST RECRUIT TREAT RETAIN + รับยาต้านไวรัส - แนะนำ PrEP ถุงยาง ป้องกันภาวะเสี่ยง - PDI, ปากต่อปากฝาก peer educators ไปบอก ฯลฯ - Mobile clinic ส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ + รักษายาต่อเนื่อง กดไวรัส - นัดกลับมาตรวจ นัดทุกหกเดือน ให้ลบตลอด นำสู่การตรวจฯ We use RRTTR Strategy with included Reach, Recruit, Test ,Treat and Retain. Our goal is to improve access for key populations, MSM and TG to HIV prevention and care services จัดบริการร่วมในสถานบริการสุขภาพ โดยจัดให้กลุ่มเป้าหมายเฉพาะเข้าถึงง่าย และเป็นมิตร เช่น ในARV Clinic แยกคลินิกเฉพาะ PrEP ฯลฯ สร้างการเข้ามารับบริการให้มากขึ้น - ควรมีการเตรียมหน่วยบริการ บุคลากร เข้าใจลักษณะของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - มีระบบการติดตามประเมินผล

เป้าประสงค์และเป้าหมายหลัก ของการยุติปัญหาเอดส์ 2030 2563 เป้าหมาย 2568 2573 ลดการติดเอชไอวีรายใหม่ < 2,000 ราย < 1,200 ราย < 1,000 ราย ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 12,000 ราย < 8,000 ราย < 4,000 ราย ลดการรังเกียจ การเลือกปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับเอดส์และเพศภาวะ ลดลง 50% ลดลง 75% ลดลง 90%

Targets towards the end of STI epidemics In 2030 90 % reduction of T.palidum incidence 90 % reduction in N.gonorrhoeae incidence ≤50 cases of congenital syphilis per 100 000 live births in 100% of countries 80% HPV vaccine coverage

Together, we can end AIDS in Thailand