อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับ.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ผลการดำเนินงาน Pap Smear (1 ต.ค.52 – 30 ก.ย.57)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย

วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของ อสม. สามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับบริบทของชุมชน เน้นผู้เข้ารับการอบรมเป็นสำคัญ มีส่วนร่วมในกระบวนการฝึกอบรม

เป้าหมาย อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เมืองเพชรบุรี ๑๗๔ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ๒. พี่เลี้ยงแต่ละ รพ.สต. ที่มีผู้เข้ารับการอบรม ชะอำ ๘๔ เขาย้อย ๖๐ หนองหญ้าปล้อง ๒๔ บ้านลาด ๑๐๘ บ้านแหลม ท่ายาง ๗๒ แก่งกระจาน ๓๖ รวม ๖๑๘

อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย แผนการอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย

ขอบเขตเนื้อหา 6 กลุ่ม + 3 ปัญหา อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้พิการ 3 ปัญหา อสม.กับการจัดการป้องกัน และเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางท้องถนนของชุมชน และเด็กจมน้ำ อสม. กับการคุ้มครองผู้บริโภค อสม. กับการควบคุมโรค

วิทยากร ขอบเขตเนื้อหา วิทยากร กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย กลถ่มงานส่งเสริมสุขภาพ (สุขภาพในช่องปาก) กลถ่มงานทันตสาธารณสุข อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน กลุ่มงานควบคุมโรค

วิทยากร กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ ขอบเขตเนื้อหา วิทยากร อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้พิการ อสม. กับการคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ อสม.กับการจัดการป้องกัน และเฝ้าระวังอุบัติเหตุฯ กลุ่มงานควบคุมโรค อสม. กับการควบคุมโรค

กำหนดการฝึกอบรม C:\Users\DELL\Desktop \jub\โครงการ อสม\อสม กำหนดการฝึกอบรม C:\Users\DELL\Desktop \jub\โครงการ อสม\อสม.นักจัดการ\ร่าง กำหนดการ การอบรมพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.doc

การลงทะเบียนผู้เข้าร่วมการอบรม ทั้งผู้เข้ารับการอบรม และผู้สังเกตการณ์ ลงทะเบียนผ่านทาง http://goo.gl/forms/hEIPj16rA2 ภายในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ การประเมินผล ๑. แบบประเมินความรู้ อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ของ อสม. ที่ผ่านการอบรม สามารถปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ๓. แบบประเมินผลความพึงพอใจในการจัดการอบรม อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของ อสม. ที่ผ่านการอบรม มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป

(อ้างอิงตาม หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย) แบบประเมินผล แบบประเมินความรู้ (อ้างอิงตาม หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย) ร่างแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ร่างแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรม

ภารกิจ สสจ. อำเภอ หน่วยบริการ จัดทำโครงการ เอกสารประกอบการฝึกอบรม จัดเตรียมสถานที่ ติดต่อวิทยากร รายงานผลการจัดโครงการ พี่เลี้ยงหน่วยบริการ ผู้ประสานงาน ติดตาม และรวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงาน พี่เลี้ยง อสม.ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกข้อมูลความรู้ ความพึงพอใจ ของอสม. ผู้เข้ารับการอบรมลงฐานข้อมูล และส่งให้ พี่เลี้ยงอำเภอ ติดตาม และรายงานผลการปฏิบัติงาน ของอสม. ทุก 1 เดือน เป็นระยะเวลาจำนวน 3 เดือน ตลอดจนการให้คำแนะนำแก่ อสม. ในการปฏิบัติงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพประชาชนตาม กลุ่มวัย มีทัศนคติที่ดีในการดูลุขภาพประชาชนตามกลุ่มวัย สามารถนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานตามบทบาท นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัยในชุมชนได้

การอบรม อสม. ปปช.

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ อสม. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในระดับชุมชน เพื่อให้ อสม. ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานตาม บทบาท และสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนการป้องกันการทุจริตระดับ ชุมชนได้

อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เป้าหมาย อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เมืองเพชรบุรี ๒๘๘ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ๒. พี่เลี้ยงแต่ละ รพ.สต. ที่มีผู้เข้ารับการอบรม ชะอำ ๑๑๘ เขาย้อย ๑๒๐ หนองหญ้าปล้อง ๔๘ บ้านลาด ๒๑๖ บ้านแหลม ท่ายาง ๑๔๔ แก่งกระจาน ๗๒ รวม ๖๑๘

แผนการจัดอบรม อสม. ปปช.

หลักสูตร ระยะเวลา 1 วัน 4 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย อสม. อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี (เฉลี่ยตำบล ละ 12 คน, หมู่บ้านละ 2) หลักสูตร ระยะเวลา 1 วัน 4 หน่วยการเรียนรู้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทุจริตและป้องกันปราบปราบการทุจริต การสร้างเสริมความตระหนักเกี่ยวกับค่านิยมสุจริต และการต่อต้านการทุจริตในสังคมไทย การมีส่วนร่วมของ อสม. และประชาชนในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในชุมชน การส้รางเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในชุมชน การประเมินผล อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ อสม.ขยายเครือข่าย 1:10-15 ตามบัญชีรายชื่อเครือข่ายเฝ้าระวังและดำเนินการป้องกันและปราบปรามฯ (ตัวจริงเก็บไว้ที่ อสม. สำนำเก็บที่รพ.สต., จนท.รพ.สต. รายงานยอดให้ พี่เลี้ยงอำเภอรวบรวมส่งให้ทาง สสจ.)

ภารกิจ สสจ. อำเภอ หน่วยบริการ จัดทำโครงการ จัดเตรียมสถานที่ ติดต่อวิทยากร รายงานผลการจัดโครงการ พี่เลี้ยงหน่วยบริการ ผู้ประสานงาน ติดตาม และรวบรวมรายงานผลการขยายเครือข่าย อสม.ปปช. พี่เลี้ยง อสม.ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกข้อมูลความรู้ ความพึงพอใจ ของอสม. ผู้เข้ารับการอบรมลงฐานข้อมูล และส่งให้ พี่เลี้ยงอำเภอ ติดตาม และรายงานผลการขยายเครือข่าย อสม.ปปช.