อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของ อสม. สามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับบริบทของชุมชน เน้นผู้เข้ารับการอบรมเป็นสำคัญ มีส่วนร่วมในกระบวนการฝึกอบรม
เป้าหมาย อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เมืองเพชรบุรี ๑๗๔ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ๒. พี่เลี้ยงแต่ละ รพ.สต. ที่มีผู้เข้ารับการอบรม ชะอำ ๘๔ เขาย้อย ๖๐ หนองหญ้าปล้อง ๒๔ บ้านลาด ๑๐๘ บ้านแหลม ท่ายาง ๗๒ แก่งกระจาน ๓๖ รวม ๖๑๘
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย แผนการอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ขอบเขตเนื้อหา 6 กลุ่ม + 3 ปัญหา อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้พิการ 3 ปัญหา อสม.กับการจัดการป้องกัน และเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางท้องถนนของชุมชน และเด็กจมน้ำ อสม. กับการคุ้มครองผู้บริโภค อสม. กับการควบคุมโรค
วิทยากร ขอบเขตเนื้อหา วิทยากร กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย กลถ่มงานส่งเสริมสุขภาพ (สุขภาพในช่องปาก) กลถ่มงานทันตสาธารณสุข อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน กลุ่มงานควบคุมโรค
วิทยากร กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ ขอบเขตเนื้อหา วิทยากร อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ อสม.กับการจัดการสุขภาพกลุ่มผู้พิการ อสม. กับการคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ อสม.กับการจัดการป้องกัน และเฝ้าระวังอุบัติเหตุฯ กลุ่มงานควบคุมโรค อสม. กับการควบคุมโรค
กำหนดการฝึกอบรม C:\Users\DELL\Desktop \jub\โครงการ อสม\อสม กำหนดการฝึกอบรม C:\Users\DELL\Desktop \jub\โครงการ อสม\อสม.นักจัดการ\ร่าง กำหนดการ การอบรมพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.doc
การลงทะเบียนผู้เข้าร่วมการอบรม ทั้งผู้เข้ารับการอบรม และผู้สังเกตการณ์ ลงทะเบียนผ่านทาง http://goo.gl/forms/hEIPj16rA2 ภายในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ การประเมินผล ๑. แบบประเมินความรู้ อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ของ อสม. ที่ผ่านการอบรม สามารถปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ๓. แบบประเมินผลความพึงพอใจในการจัดการอบรม อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของ อสม. ที่ผ่านการอบรม มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป
(อ้างอิงตาม หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย) แบบประเมินผล แบบประเมินความรู้ (อ้างอิงตาม หลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย) ร่างแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ร่างแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรม
ภารกิจ สสจ. อำเภอ หน่วยบริการ จัดทำโครงการ เอกสารประกอบการฝึกอบรม จัดเตรียมสถานที่ ติดต่อวิทยากร รายงานผลการจัดโครงการ พี่เลี้ยงหน่วยบริการ ผู้ประสานงาน ติดตาม และรวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงาน พี่เลี้ยง อสม.ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกข้อมูลความรู้ ความพึงพอใจ ของอสม. ผู้เข้ารับการอบรมลงฐานข้อมูล และส่งให้ พี่เลี้ยงอำเภอ ติดตาม และรายงานผลการปฏิบัติงาน ของอสม. ทุก 1 เดือน เป็นระยะเวลาจำนวน 3 เดือน ตลอดจนการให้คำแนะนำแก่ อสม. ในการปฏิบัติงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพประชาชนตาม กลุ่มวัย มีทัศนคติที่ดีในการดูลุขภาพประชาชนตามกลุ่มวัย สามารถนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานตามบทบาท นัก จัดการสุขภาพตามกลุ่มวัยในชุมชนได้
การอบรม อสม. ปปช.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ อสม. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในระดับชุมชน เพื่อให้ อสม. ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานตาม บทบาท และสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนการป้องกันการทุจริตระดับ ชุมชนได้
อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เป้าหมาย อำเภอ ผู้เข้ารับการอบรม ผู้สังเกตการณ์ เมืองเพชรบุรี ๒๘๘ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ๒. พี่เลี้ยงแต่ละ รพ.สต. ที่มีผู้เข้ารับการอบรม ชะอำ ๑๑๘ เขาย้อย ๑๒๐ หนองหญ้าปล้อง ๔๘ บ้านลาด ๒๑๖ บ้านแหลม ท่ายาง ๑๔๔ แก่งกระจาน ๗๒ รวม ๖๑๘
แผนการจัดอบรม อสม. ปปช.
หลักสูตร ระยะเวลา 1 วัน 4 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย อสม. อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี (เฉลี่ยตำบล ละ 12 คน, หมู่บ้านละ 2) หลักสูตร ระยะเวลา 1 วัน 4 หน่วยการเรียนรู้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทุจริตและป้องกันปราบปราบการทุจริต การสร้างเสริมความตระหนักเกี่ยวกับค่านิยมสุจริต และการต่อต้านการทุจริตในสังคมไทย การมีส่วนร่วมของ อสม. และประชาชนในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในชุมชน การส้รางเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในชุมชน การประเมินผล อสม.ที่ผ่านการอบรมทุกคน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ อสม.ขยายเครือข่าย 1:10-15 ตามบัญชีรายชื่อเครือข่ายเฝ้าระวังและดำเนินการป้องกันและปราบปรามฯ (ตัวจริงเก็บไว้ที่ อสม. สำนำเก็บที่รพ.สต., จนท.รพ.สต. รายงานยอดให้ พี่เลี้ยงอำเภอรวบรวมส่งให้ทาง สสจ.)
ภารกิจ สสจ. อำเภอ หน่วยบริการ จัดทำโครงการ จัดเตรียมสถานที่ ติดต่อวิทยากร รายงานผลการจัดโครงการ พี่เลี้ยงหน่วยบริการ ผู้ประสานงาน ติดตาม และรวบรวมรายงานผลการขยายเครือข่าย อสม.ปปช. พี่เลี้ยง อสม.ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกข้อมูลความรู้ ความพึงพอใจ ของอสม. ผู้เข้ารับการอบรมลงฐานข้อมูล และส่งให้ พี่เลี้ยงอำเภอ ติดตาม และรายงานผลการขยายเครือข่าย อสม.ปปช.