ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสืบค้นข้อมูล IMF  ฐานข้อมูล International Monetary Fund Online Service (IMF) มีเนื้อหา ครอบคลุม ทางด้าน การเงินธุรกิจ  International Financial Statistics.
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
สภาพแวดล้อมในกระแส โลกาภิวัตน์ (Environment)
Explaining ASEAN REGIONALISM IN SOUTHEAST ASIA
การค้าระหว่างประเทศ (International Trade)
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
สิทธิประโยชน์ทางการค้า
Globalization and the Law III
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
REPRESENTATIVE FULL - BODIED MONEY CREDIT MONEY GRASHAM’S LAW
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ปัญหาของการสะกดชื่อภาษาอังกฤษสำคัญไฉน ?
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
การรวมกลุ่มประเทศ ทางเศรษฐกิจ
การเงินระหว่างประเทศ
โลกาภิวัตน์และอำนาจอธิปไตย Globalizaion and Sovereignty
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
International Economics Payment among Nation
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
เรื่องของอาเซียน.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
GATT & WTO.
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
Globalization and the Law
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล.
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
ชื่อ –สกุล นายอนุพันธ์ วุธประดิษฐ์ ตำแหน่ง ผช.หัวหน้าหน่วย (พพธ.7)
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
The Association of Thai Professionals in European Region
ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงถึง 11
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมา นำเสนอเว็บไซต์ระบบคลังข้อมูลทางการค้าของไทย
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก

การนำเข้า (Import) การนำเข้า (Import) หมายถึงการนำเข้า สินค้าเข้ามาจากต่างประเทศ โดยสินค้าที่ นำเข้ามักเป็นสินค้าที่ไม่มีหรือผลิตใน ประเทศไม่ได้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องจักร ต่างๆที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต สินค้า เกษตรบางชนิด เป็นต้น

โครงสร้างสินค้าเข้าของไทย คือ ประเภทสินค้าที่ไทยเสียเปรียบในการผลิต และมีการนำเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่ 1. สินค้าทุน 2. สินค้าวัตถุดิบ 3. น้ำมันเชื้อเพลิง 4. สินค้าอุปโภคบริโภค 5. ยานพาหนะ

แหล่งนำเข้าสำคัญของไทย คือ ประเทศคู่ค้าสำคัญที่ไทยมีการ นำเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศ ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา กลุ่ม สหภาพยุโรป กลุ่มอาเซียน

สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย คือ สินค้าที่ไทยมีการนำเข้ามูลค่าสูงๆ ในแต่ละปี ได้แก่ น้ำมันดิบเครื่องจักรกล และส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและ ส่วนประกอบ

การส่งออก (Export) การส่งออก (Export) หมายถึง การจัดส่งสินค้าและ บริการจากต้นทางสู่ปลายทางในทางบก ทางน้ำหรือ ทางอากาศ โดยผู้ส่งสินค้าหรือบริการออกเรียกว่า "ผู้ส่งออก" ส่วนในทางการค้าระหว่างประเทศ การ ส่งออกหมายถึง การขายสินค้าและบริการในประเทศ ไปสู่ตลาดอื่น (ตลาดสากล)

โครงสร้างสินค้าออกของไทย หมายถึง ประเภทสินค้า สำคัญที่ประเทศ สามารถผลิตและส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ ประกอบด้วยสินค้า 4 ประเภท คือ 1. สินค้าเกษตรกรรม 2. สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 3. สินค้าอุตสาหกรรม 4. สินค้าแร่และเชื้อเพลิง

ตลาดส่งออกสำคัญของไทย คือ ประเทศคู่ค้าสำคัญ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป กลุ่มประเทศอาเซียน

สินค้าส่งออกสำคัญของไทย คือ สินค้าสำคัญของไทยที่มีการผลิตและสามารถ ส่งออกได้มูลค่าสูงๆ ในแต่ละปี ได้แก่ เครื่อง คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า เป็นต้น

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า กรมศุลกากร ในการส่งออกและนำเข้าซึ่งสินค้าจะต้องมี หน่วยงานที่ต้องเกี่ยวข้องด้วยคือ กรมศุลกากร แม้ว่าจะ เป็นการนำเข้าหรือส่งออกผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต เองก็จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับกรมศุลกากรด้วย และที่ สำคัญต้องอยู่ภายใต้กฎหมายการนำเข้าและส่งออกของ ประเทศนั้น ๆ

ความสำคัญในการส่งเสริมในภาคการส่งออก 1. การส่งออกช่วยผลักดันในด้านการขยายการลงทุน และสร้าง ความต้องการแรงงาน 2. การส่งออกช่วยในการนำเข้าเงินตราจากต่างประเทศ 3. การส่งออกก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 4. การส่งออกก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ให้แก่ทรัพยากร 5. การส่งออกเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิตลง (Economy of Scale) 6. การส่งออกช่วยสร้างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 7. การส่งออกช่วยลดการพึ่งพิงสินค้าจากต่างประเทศ

กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ

1. สำนักงานข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและการเก็บภาษีอากร 1. สำนักงานข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและการเก็บภาษีอากร (General Agreement on Trade and Tariff : GATT) เป็นการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2490 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มีสมาชิก เริ่มแรก23 ประเทศ ไทยเป็นสมาชิก ประเทศที่ 104 เมื่อปี พ.ศ.2504

2.องค์การค้าโลก (World Trade Organization : WTO)

3. ตลาดร่วมแห่งยุโรป (European Economic Community : EEC)

4. สมาคมเขตการค้าเสรีแห่งยุโรป (European Free Trade Association : EFTA) 4. สมาคมเขตการค้าเสรีแห่งยุโรป (European Free Trade Association : EFTA) เป็นการรวมกลุ่มการร่วมมือทาง เศรษฐกิจ โดยประเทศในยุโรปที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ของกลุ่มตลาด ร่วม (EEC)เพื่อจะได้มีอำนาจในการต่อรองกับตลาดร่วมยุโรปใน ปัญหาเกี่ยวกับการค้า กลุ่มการค้าเสรีแห่ง ยุโรป (EFTA)ตั้งขึ้นในปี 2503 สมาชิกประกอบด้วย อังกฤษ ออสเตรเลีย เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์และโปรตุเกส

5. กลุ่มเศรษฐกิจในประเทศยุโรปตะวันออก (Comecon)

6. สมาคมการค้าอาเซียน (Association of Southeast Asean Nation : ASEAN) 6. สมาคมการค้าอาเซียน (Association of Southeast Asean Nation : ASEAN) เป็นการรวมกลุ่มกันของประเทศซึ่งอยู่ในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510 ประเทศสมาชิกแรกมี 6 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย สิงค์โปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และบรูไน มีประเทศใหม่ที่ เข้ามารวมกลุ่มภายหลังคือ ลาว เวียดนาม และพม่า ตามลำดับ ต่อมาในปี 2535 มี การประชุมสุดยอดที่สิงค์โปร์ ตกลงตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรือที่เรียกว่า AFTA เพื่อให้สินค้าของประเทศสมาชิกเคลื่อนย้ายอย่างเสรีกันได้ภายในกลุ่ม

7. สำนักงานกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) 7. สำนักงานกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) เป็นองค์การชำนาญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ (United National) ถือ กำเนิดในขณะเดียวกับที่ได้มีการก่อตั้ง “ธนาคารเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา” (International Bank for Reconstruction and Development : IBRD หรือเรียกที่ กันทั่ว ๆ ไปว่า ธนาคารโลก) โดยมติของการประชุมใหญ่ของ สหประชาชาติในด้าน เงินตรา (Monetary) และการเงิน (Financial) ที่เมือง Bretton Wood ใน สหรัฐอเมริกา เมื่อปีพ.ศ. 2487 แต่ IMF ได้เริ่มให้บริการเมื่อ พ.ศ. 2490

8. ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารโลก 8. ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารโลก มีชื่อเป็นทางการว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา (The International bank for Reconstruction and Development : IBRD) ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2490 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมี สมาชิก 127 ประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย

9. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (The North America Free Trade Agreement : NAFTA)

10. องค์การประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (Organization of Petroleum Experting Countries :OPEC)