กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ประชาคมอาเซียน.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
OPAC Provisions and Scope
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
การบูรณาการการจัดการปัญหาทางด้านสังคมของศูนย์พึ่งได้
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธิมนุษยชน.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
อำนาจอธิปไตย 1.
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
หน่วยที่ 2 สิทธิมนุษยชน
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน : กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค.ศ. 1966 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966

พันธกรณี 4 ประการ ที่ปทไทยต้องปฏิบัติเมื่อเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา ประกันให้เกิดสิทธิ = ตรากฎหมาย/พัฒนากฎหมายให้ สอดคล้องกับสนธิสัญญา ปฏิบัติให้เกิดสิทธิ = ผลักดันให้หน่วยงานปฏิบัติตาม สนธิสัญญา เผยแพร่ให้เกิดสิทธิ = ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจใน สนธิสัญญาอย่างกว้างขวาง จัดทำรายงานประเทศ = จัดทำรายงานผลการปฏิบัติตาม สนธิสัญญาฉบับนั้น เพื่อเสนอแก่คณะกรรมการประจำ สนธิสัญญา (treaty bodies)

สิทธิเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิทธิในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิไม่ถูกเลือกปฏิบัติ เสรีภาพจากความยากจน

ความยากจนเป็นผลและเหตุของการละเมิดสิทธิมนุษยชน

1. 1 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค. ศ 1.1 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค.ศ. 1966 International Convenant On Economic Social and Cultural Rights- ICESCR กติกาฯ มีทั้งหมด 31 ข้อ มีสาระสำคัญ แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ 1) สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง (Right to Self-Determination) (ม.1) 2) พันธะหน้าที่ทางกฎหมายของรัฐ (ม.2-5) ดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน (To Take Steps) หลักการไม่เลือกปฏิบัติ (Non-discrimination)

3) เนื้อหาสิทธิ (ม.6-15) สิทธิในการทำงาน ม.6 ม.7 สิทธิการจ้างงานที่เป็นธรรม ม.8 สิทธิในการเข้าร่วม และก่อตั้งสหภาพแรงงาน ม.9 สิทธิในการประกันสังคม ม.10 สิทธิในการปกป้องคุ้มครองครอบครัวตลอดจนเด็กและเยาวชน ม.11 สิทธิในการมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ ม.12 สิทธิในการมีสุขอนามัย ม.13-14 สิทธิในการศึกษา ม.15 สิทธิในวัฒนธรรมหรือความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์

4-5) ระบบการดูแลตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตามกติกาฯ พันธะในการทำรายงานเสนอของรัฐสมาชิก กำหนดให้รัฐสมาชิก เสนอรายงานแรกเริ่มภายใน 1 ปี นับจากกติกาฯ มีผลบังคับใช้และ จัดทำทุก 5 ปี หรือตามที่คณะกรรมาธิการว่าด้วยเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมร้องขอ

กรณีศึกษาละเมิดกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างของลูกจ้างรายวันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

กรณีนายจ้างได้เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างของลูกจ้างรายวันในสถาน ประกอบการ2,300 คน จากเดิมที่มีรูปแบบการทํางาน 6 วัน หยุด 1 วัน ทํางาน 8 ชั่วโมง โดยแบ่งเป็น 3 กะ ๆ ละ 8 ชั่วโมง มีวันหยุด 1 วัน คือ วันเสาร์หรือวันอาทิตย์ เป็นรูปแบบการทํางาน 4 วัน หยุด 2 วัน ทํางาน 12 ชั่วโมง (ทํางาน ปกติ 8 ชั่วโมง และทํางานล่วงเวลา 4 ชั่วโมง) โดยแบ่งเป็น 2 กะ ๆ ละ 12 ชั่วโมง CESCR ข้อ ๗ (ก) (๒) และ (ง) กําหนดรับรองสิทธิของแรงงาน ที่มีสภาพการทํางานในเรื่องค่าตอบแทนขั้นต่ำและความเป็นอยู่ที่ เหมาะสม

กรณีเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming)

เกษตรกรอ้างว่า ถูกหลอกให้เข้าร่วมลงทุนในโครงการเลี้ยง ไก่แบบประกันราคากับบริษัทเอกชนที่ทําการเกษตรเชิง อุตสาหกรรม พบว่า คู่สัญญามีสถานะไม่เท่าเทียมกับ เจ้าของธุรกิจ ซึ่งเป็นผู้เขียนข้อกําหนดในสัญญาเพียงฝ่าย เดียวจึงมีลักษณะเอาเปรียบเกษตรกร CESCR ข้อ ๖ /๓ ที่บัญญัติให้รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรอง สิทธิในการทํางาน รวมทั้งสิทธิของทุกคนในโอกาสที่จะหา เลี้ยงชีพโดยงานซึ่งตนเลือกหรือรับอย่างเสรี และจะดําเนิน ขั้นตอนที่เหมาะสมในการปกป้องสิทธินี้

1. 2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค. ศ 1.2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 International Convenant on Civil and Political Rights (ICCPR) กติกาฯ มีทั้งหมด 53 ข้อ มีสาระสำคัญ แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1) สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง (ม.1) 2) พันธะหน้าที่ทางกฎหมายของรัฐ (ม.2-5) - หลักการไม่เลือกปฏิบัติ/ความเสมอภาคชายและหญิง - ข้อจำกัดสิทธิในสถานการณ์ฉุกเฉินของสาธารณะ

3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27) สิทธิในชีวิต ม.7 สิทธิของบุคคลที่จะไม่ถูกทรมานหรือการปฏิบัติหรือลงโทษที่โหด ร้ายไร้มนุษยธรรมหรือต่ำช้า ม.8 สิทธิการห้ามมิให้เอาคนมาเป็นทาส ค้าทาส ม.9 สิทธิในการมีอิสรภาพและความมั่นคง ม.10 สิทธิของผู้ต้องขังที่จะได้รับปฏิบัติอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ม.11 ห้ามคุมขังแทนการชำระหนี้ ม.12 เสรีภาพในการเดินทาง

3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27) ม.13 การคุ้มครองคนต่างด้าวจากการเนรเทศอย่างไม่เป็นธรรม ม.14 กระบวนการพิจารณาคดีอาญาและคดีแพ่งที่เป็นธรรม ม.15 ห้ามใช้กฎหมายอาญาย้อนหลัง ม.16 การยอมรับสถานะทางกฎหมายของบุคคล ม.17 สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว ม.18 เสรีภาพในด้านความคิด มโนธรรมและศาสนา ม.19 เสรีภาพในด้านความคิด การแสดงออก และการรับข้อมูลข่าวสาร ม.20 ห้ามโฆษณาชวนเชื่อเพื่อการสงครามและก่อให้เกิดความเกลียดชัง

3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27) ม.21 เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสันติ ม.22 เสรีภาพในการก่อตั้งสมาคมและสหภาพแรงงาน ม.23 การสมรสและสิทธิในครอบครัว ม.24 สิทธิของเด็ก ม.25 สิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและได้รับบริการสาธารณะ ม.26 สิทธิในความเท่าเทียมกันของบุคคล ม.27 การคุ้มครองชนกลุ่มน้อย

การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย มาตรา 2 , 9, 14 การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access of Justice) 2. การได้รับชดเชยค่าเสียหายโดยผู้กระทำผิด (Restitution) 3. การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ (Compensation) 4. การได้รับความช่วยเหลือ หรือบริการอื่น (Assistance)

หลักการและแนวปฏิบัติแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา UN Principle and Guidelines on Access to Legal Aid In Criminal Justice System สมัชชาใหญ่สหประชาชาติรับรอง 20 ธันวาคม 2555

เนื้อหา สิทธิได้รับความช่วยเหลือด้านกฎหมาย สิทธิได้รับการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือด้านกฎหมาย สิทธิของบุคคลที่ควบคุมตัว ถูกจับกุมตกเป็นผู้ต้องสงสัยหรือ ถูกกล่าวหา หรือถูกแจ้งข้อหาที่เป็นความผิดทางอาญา ความช่วยเหลือด้านกฎหมายในระหว่างรอการพิจารณาของ ศาล ความช่วยเหลือด้านกฎหมายในกระบวนการศาล ความช่วยเหลือด้านกฎหมายหลังการพิจารณาคดี

ความช่วยเหลือด้านกฎหมายสำหรับผู้เสียหาย ความช่วยเหลือด้านกฎหมายสำหรับพยาน มาตรการพิเศษสำหรับเด็ก งบประมาณสำหรับระบบความช่วยเหลือด้านกฎหมาย

1. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access of Justice) การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การจัดการร้องทุกข์ การจัดหาทนายความ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?

2. การได้รับชดเชยค่าเสียหายโดยผู้กระทำผิด (Restitution) การดำเนินคดีตามกฎหมาย การไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท การชดเชยทางแพ่ง ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?

3. การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ (Compensation) การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ ให้แก่ผู้เสียหาย และจำเลย ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?

4. การได้รับความช่วยเหลือหรือบริการอื่น (Assistance) ผู้เสียหายได้รับการรักษาพยาบาลร่างกาย จิตใจ คุ้มครองพยาน ที่พักพิงชั่วคราว ฝึกอาชีพ / สวัสดิการสังคม ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?

กรณีนำตัวผู้ต้องหาคดีอาญาไปชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพ และแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ละเมิดสิทธิในเกียรติยศชื่อเสียง ความเป็นส่วนตัว

4) กลไกในการดำเนินการให้เป็นไปตามกติกาฯ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Human Rights Committee) (ม.28-45) ตรวจสอบพิจารณารายงาน ซึ่งเสนอโดยรัฐสมาชิก ตรวจสอบหนังสือร้องเรียน จากเอกชนในกรณีถูก ละเมิดสิทธิใดๆ ในกติกาฯ จัดทำข้อสังเกต ต่อรายงานดังกล่าว

การตรวจสอบรายงานซึ่งเสนอโดยรัฐสมาชิก สรุปและข้อสังเกต คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน ส่งรายงาน คณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม รัฐสมาชิก สมัชชาทั่วไปแห่ง สหประชาชาติ รายงานประจำปี

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับคำร้องเรียนจากรัฐภาคีอื่นๆ ตกลงกันได้ รัฐภาคี ที่กล่าวหา ยื่นภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่รัฐถูก กล่าวหาได้รับเรื่อง ลายลักษณ์อักษร เขียนรายงานข้อเท็จจริง และผลการแก้ไขปัญหา ทำคำชี้แจง ภายใน 3 เดือน คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน ผลไม่พอใจ พิจารณาภายใน 12 เดือน รัฐภาคีที่ ถูกกล่าวหา ไม่สามารถ ตกลงกันได้ การแก้ไขเยียวยาภายในประเทศ ถูกนำมาใช้ถึงที่สุดแล้ว ผลเป็นที่พอใจ เขียนรายงานข้อเท็จจริง และคำชี้แจงลายลักษณ์อักษร และวาจาไปยังเลขาธิการ UN ยุติ พิจารณาโดยลับ กลไกสภาสิทธิมนุษยชนมีลักษณะไกล่เกลี่ยไม่มีลักษณะตุลาการหรือกึ่งกุลาการ

1.3 พิธีสารเลือกรับกติการะหว่างประเทศ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 1 (Optional Protocol) กระบวนการรับเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของปัจเจกบุคคล ต้องเป็นปัจเจกบุคคลซึ่งรัฐภาคีให้สัตยาบันต่อพิธีสารเลือกรับฉบับนี้ จึง จะมีสิทธิ การตัดสินใจของคณะกรรมการ ฯ มีสถานะเป็นความเป็นสุดท้าย (Final Views) 1.4 พิธีสารเลือกรับกติการะหว่างประเทศ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 2 มีจุดมุ่งหมายในการยกเลิกโทษประหารชีวิต

1.5 การเข้าเป็นภาคของไทยในกติกาทั้ง 2 ฉบับ กติกาสิทธิพลเมืองฯ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 มีผล บังคับเมื่อ 30 มกราคม 2540 กติกาสิทธิเศรษฐกิจฯ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2542 มีผล บังคับเมื่อ 5 ธันวาคม 2542

โดยมีการทำ “คำแถลงตีความ” ต่อท้ายภาคยานุวัติ มี 4 ประเด็นสำคัญคือ สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง ไม่ให้หมายถึง เหตุผลหรือ ข้ออ้างที่ประชาชนกลุ่มใดจะนำมาใช้เพื่อขอแยกดินแดนไปตั้ง เป็นรัฐอิสระใหม่ กรณีห้ามประหารชีวิตบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ขอตีความเอื้อ ประโยชน์ในทางปฏิบัติ การนำตัวผู้ถูกจับกุมหรือควบคุมทางอาญาไปสู่ศาลโดยพลัน ตีความว่า โดยไม่ชักช้าหรือภายในระยะเวลาที่สมเหตุผล ห้ามการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อทำสงคราม ตีความว่า เป็นสงคราม ซึ่งขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศ