Service plan สาขาไต เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
โรงพยาบาลคลองหลวง จ.ปทุมธานี
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service plan สาขาไต เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา 28 กันยายน 2560

โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง วันที่ 5-6 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมหาดใหญ่ พาราไดส์ โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ลงเยี่ยมพื้นที่ การดำเนินงาน ครั้งที่ 1 กรกฏาคม 2560 ครั้งที่ 1 กรกฏาคม 2560 ครั้งที่ 2 13 กันยายน 2560

สาเหตุของการประเมินอัตราการคัดกรองโรคไตเรื้อรังต่ำด้วยระบบฐานข้อมูลHealth Data Center จากฐานข้อมูลระบบ HDC ในปีงบประมาณ พศ. 2559 พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CKD ในเขตความรับผิดของรพ.สต.ที่ศึกษามีจำนวนทั้งสิ้น 261 คน ผู้ได้รับการคัดกรองโรคไตเรื้อรังด้วยการตรวจปัสสาวะวัดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะจำนวน133 คน คิดเป็น 50.96% ผู้ป่วยที่เหลือจำนวน128 คนไม่ได้รับการคัดกรองโรคไตเรื้อรัง49.04%อย่างไรก็ตามเมื่อ

ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการคัดกรองโรคไต(n=137 คน) ลักษณะพื้นฐาน หมายเหตุ เพศ ชาย 75 (54.8%) อายุ (ปี) 61.9 ±1.2 (95% CI 59.5-64.4) น้ำหนัก (kg) 59.5±1.3 (95% CI 57.0-62.1) ความสูง (cm) 158.5±1.1 (95% CI 156.4-160.7) สาเหตุของกลุ่มเสี่ยง ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ทั้งความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 136 (99.3%) 24 (17.5%) 23 (16.8%) 1-20ปี 2-13 ปี 1-12 ปี

สาเหตุของการไม่คัดกรองและระยะเวลาตั้งแต่ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (n=137 คน) สาเหตุของการไม่ได้รับการคัดกรอง จำนวน (%) โรคที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ไม่เป็นกลุ่มเสี่ยง (0) 12 (8.8) ทั้งหมดเป็น HT12ราย ตกสำรวจ (1) 23 (16.8) HT 23 ราย DM 2 ราย ทั้งสองโรค 2 ราย ไม่ได้มารับการรักษา (2) 18 (13.1) HT 17 ราย DM 2 ราย ทั้งสองโรค 1 ราย รักษาที่โรงพยาบาลอื่น (3) 79 (57.7) HT 79 ราย DM 18 ราย ทั้งสองโรค 18ราย เสียชีวิตก่อนปีงบ 2559 (5) 4 (2.9) HT 4 ราย DM 2 ราย ได้รับการคัดกรอง แต่ไม่มีข้อมูลในระบบ HDC (6) 1 (0.7) HT 1 ราย

การดำเนินงานค้นหา คัดกรองโรคไตเรื้อรัง

ร้อยละของผู้ป่วยHT/DM ที่ได้รับการคัดกรองไตเรื้อรัง 58-60 ที่มา : HDC ข้อมูล ณ วันที่ 7 กย.2560

จำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคไตจากผลการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวาน-ความดัน (ปี58-60) ที่มา : HDC ข้อมูล ณ วันที่ 7 กย.2560

ร้อยละของผู้ป่วย DM/HT เป็นโรคไตเรื้อรังรายใหม่แยกรายรพ.สต.ปี 58-60 ที่มา : HDC ข้อมูล ณ วันที่ 7 กย.2560

จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในเขตรับผิดชอบ จำแนกตาม Stage ปี2560 ที่มา : HDC ข้อมูล ณ วันที่ 7 กย.2560

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน การเข้าถึงผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในพื้นที่น้อย ขาดการใช้ข้อมูลในการติดตามผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การติดตามการรักษา ขาดการติดตามผลการดำเนินงานคัดกรอง ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง รพ. รพ.สต.

โอกาสในการดำเนินงาน ประชุมทีม NCD Board ในการดำเนินงานเพื่อสรุปปัญหา และวางแผน ติดตาม งานNCD ในเครือข่าย รพ.สต.จัดทำข้อมูล ทะเบียนผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดัน ให้เป็นปัจจุบันในการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน นำข้อมูลจากHDC ในการติดตามผู้ป่วย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน /การรักษา /การดูแลภาวะแทรกซ้อน / จัดทำแผนในการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในภาพรวมของเครือข่าย มีการติดตามผลการดำเนินงาน/ปัญหาและอุปสรรค /แนวทางแก้ไข ทุกไตรมาส

แผนการดำเนินงานการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน

พื้นที่โซนชบาแดง M2 F2 F2 F2 จะนะ -นาทวี 20 ก.ม. เทพา -นาทวี 42 ก.ม. สะบ้าย้อย -นาทวี 44 ก.ม. รพ.แม่ข่าย มุ่งเน้น... การพัฒนาเป็น รพ.พี่ดูแลน้อง เชื่อมโยงด้วยระบบส่งต่อตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ เน้นบริการใกล้บ้านใกล้ใจ การพัฒนาด้านบริการและโครงสร้างเพิ่มเติม F2

การให้บริการล้างไต(RRT) ล้างไตทางช่องท้อง (CAPD) เปิดบริการ ตั้งแต่ 9 ม.ค.58 คลินิก CAPD ทุกวันจันทร์-พุธ สัปดาห์ที่ 1 และ 2 ของเดือน นำเครื่อง Automate มาใช้ผู้ป่วย Acute Peritoneal dialysis และ AKI ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เริ่มเปิดบริการ 18 ต.ค.59 จำนวน 4/8 เครื่อง วันละ 2 รอบ จันทร์-เสาร์ เวลาดำเนินการ รอบเช้า เวลา 8.00 – 12.00 น. รอบบ่าย เวลา 13.00 – 17.00 น.

จำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้าย RRT ชนิดต่างๆ พื้นที่ จำนวนทั้งหมด CAPD HD หมายเหตุ (Acute PD - HD) นาทวี 28 20 8 4-6 จะนะ 21 14 7 5-0 เทพา 11 3 2-0 สะบ้าย้อย 5 4 1 0-1 หน่วยไต รพ.สมเด็จฯนาทวี ทั้งหมด 68 (CAPD 3ราย=>HDถาวร) 49* 19 11-7 ที่มา : ทะเบียนหน่วยบำบัดทดแทนไต ก.ย.60

ร้อยละโรคร่วมผู้ป่วย ESRD ที่ล้างไต หน่วยสมเด็จฯนาทวี   DM HT HT/DM อื่นๆ HD 0.00 (0/19) 52.63 (10/19) 31.58 (6/19) 15.79 (3/19) CAPD 18.37 (9/49) 16.33 (8/49) 32.65 (16/49) รวม 13.24 (9/68) 26.47 (18/68) 32.35 (22/68) 27.94 (19/68) ที่มา : ทะเบียนหน่วยบำบัดทดแทนไต ก.ย.60

สาเหตุ/โรคร่วม ESRD ของผู้ป่วยCAPD พื้นที่ CAPD DM HT HT/DM อื่นๆ นาทวี 20 4 5 3 Gout 1, NS1,ไม่ทราบ 6 จะนะ 14 ไม่ทราบ 6 เทพา 11 2 6 สะบ้าย้อย Leptospirosis1,ไม่ทราบ 1 หน่วยไต รพ.สมเด็จฯนาทวี ทั้งหมด 49 9 8 16 ที่มา : ทะเบียนหน่วยบำบัดทดแทนไต ก.ย.60

สาเหตุ/โรคร่วม ESRD ของผู้ป่วยฟอกเลือด พื้นที่ HD DM HT HT/DM อื่นๆ นาทวี 8 3 ถุงน้ำในไต 1,อื่นๆสมุนไพร1 จะนะ 7 +gout1 ไม่ทราบ 1 เทพา +gout 1 สะบ้าย้อย 1 หน่วยไต รพ.สมเด็จฯนาทวี ทั้งหมด 19 10 6 ที่มา : ทะเบียนหน่วยบำบัดทดแทนไต ก.ย.60

จำนวน/ร้อยละของผู้ป่วยPDที่เข้ารับการรักษาตัวใน รพ. พื้นที่ Peritonitis Volume overload หมายเหตุ จำนวน(ครั้ง) ร้อยละ(คน) นาทวี 4 15(3/20) 1 5(1/20) จะนะ 10 42.85(6/14) 7.14(1/14) เทพา 2 14.29(2/11) 9.09(1/11) สะบ้าย้อย 0(0/4) รวม 16 22.44(11/49) 6.12(3/49) สาเหตุ Peritonitis : care giver 9/11 Volume overload : กินเค็ม 3/3

บทบาทปฐมภูมิในการดูแลผู้ป่วยล้างไต ป้องกันระดับตติยภูมิ ( tertiary prevention) การสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการดูแล การปรับสภาพบ้านเพื่อล้างไต(CAPD) ระบบสาธารณูปโภค : น้ำประปาหมู่บ้าน การกำจัดขยะ ผู้ดูแล ความรู้และความสามารถของทีมสุภาพ การประเมินการเปลี่ยนถ่ายน้ำยาล้างไต อาหาร โปรตีน เกลือ ฟอสเฟต ฯลฯ การบริหารยา :การผสม ATB ในน้ำยาล้างไต Epo การ Empower ผู้ป่วยและผู้ดูแล การประเมินภาวะผิดปกติ ต่างๆและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น การดูแลระยะสุดท้าย

ขอบคุณค่ะ