โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
THE PARTS OF A FLOWERING PLANT AND THEIR FUNTION.
Advertisements

Set is a basic term in Mathematics. There is no precise definition for term “set”, But roughly speaking, a set is a collection of objects, Things or symbols,
Texture การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
จำนวน สถานะ NUMBER OF STATES. ประเด็นที่ สนใจ The number of distinct states the finite state machine needs in order to recognize a language is related.
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
ออโตมาตาจำกัด FINITE AUTOMATA
REGULAR EXPRESSION การบรรยายแบบสม่ำเสมอ
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Tanawat Attachaipanich M.5/5 MWIT 19
จัดทำโดย นางสาวทิพยรัตน์ กำลังมาก เลขที่ 19 นางสาวปัญณิศา ป้องขันธ์ เลขที่ 26 นางสาวพรวษาทวีกุล เลขที่ 27 นางสาววลัยลักษณ์ ขวัญคุ้ม เลขที่ 34 นางสาวอมรรัตน์
การสร้าง WebPage ด้วย Java Script Wachirawut Thamviset.
Chapter 3 Simple Supervised learning
UNIT 4 USING THE TELEPHONE. Expressions Can I help you ? - Yes, of course. - No, thank you. May I help you ? - Yes, thank you. - No, I’m sorry. What can.
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
In-Class Exercises Discrete Mathematics
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
สื่อเสริมการเรียนรู้
Tell me about your family
ครูรุจิรา ทับศรีนวล. อ่านเรื่องสั้น ๆแล้ว ตอบคำถามได้
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
ภาษาอังกฤษ อ่าน-เขียน 2
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Room service”. “Room service”
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Edinburgh” ตอนที่ 1 ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
กลุ่ม rraid. What's your name. คุณชื่ออะไร = Miss Bangon Buntanoom How old are you. - คุณอายุเท่าไหร่ = Ages 36 Years What you have finished your course.
ใบความรู้ เรื่อง ประโยคสนทนาที่น่ารู้ โดย อ. สิริพร กุ่ยก ระโทก.
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Travel plan”. “Travel plans”
TEST FOR 3RD GRADERS IN THAILAND: COMPARATIVE STUDY Pimlak Moonpo Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Patronage Assoc. Prof. Dr. Maitree Inprasitha.
Eigenvalue & Eigenvector. 1. Get to know: Eigenvalue & Eigenvector 2. Estimation of Eigenvalue & Eigenvector 3. Theorem.
Physical Chemistry IV The Ensemble
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
These examples show that the subject is doing the verb's action.
INTRODUCTION TO SEMICONDUCTORS
Crossword Puzzle Game.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี ชุดที่2 อ.ศราวุทธ 11/18/2018.
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
Multimedia Production
Two-Variable K-Map K-Map = Karnaugh map ตัวอย่างฟังก์ชัน input input.
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
สุขสันต์วันครบรอบคริสตจักร 19 ปี คริสตจักรเรมากรุงเทพฯ
Object-Oriented Programming Paradigm
Periodic Atomic Properties of the Elements
Physical Chemistry IV Molecular Simulations
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
ผลการดำเนินงานโครงการทัศนศึกษาต่างประเทศ (มาเลเซีย-สิงคโปร์)
คำเทศนาชุด: ท่านมีของประทาน
1 ยอห์น 1:5-7 5 นี่เป็นเรื่องราวซึ่งเราได้ยินจากพระองค์และประกาศแก่ท่าน คือพระเจ้าทรงเป็นความสว่าง ในพระองค์ไม่มีความมืดเลย 6 ถ้าเราอ้างว่ามีสามัคคีธรรมกับพระองค์แต่ยังดำเนินในความมืด.
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
1 E 1 S E M N G Reading & Writing
ตารางธาตุ.
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
Concept behind VSEPR Molecular geometries Lecture 25: VSEPR
การสืบพันธุ์ของพืช.
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
Nuclear Symbol kru piyaporn.
AnalyticAL Writing ปิติ ตรีสุกล.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการบูรณาการภาครัฐและเอกชนในการจัดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคตะวันออก This template can be used as a starter file to give updates for.
Air-Sea Interactions.
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

http://www.chemistrycoach.com/quantum.htm โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

Another diagram of 2p orbitals Note that there are three different configurations corresponding to m = -1, 0, 1 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

3d Orbitals Now there are five different configurations corresponding to m = -2, -1, 0, 1, 2 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

4f Orbitals There are seven different configurations corresponding to m = -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

3 2 1 n= 3d n2 There are orbitals in the nth SHELL Boundary surfaces for all orbitals of the n = 1, n = 2 and n = 3 shells n= 3 3d There are n2 orbitals in the nth SHELL 2 1 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

2. Name the orbitals described by the following quantum numbers 1. State the four quantum numbers and the possible values they may have. 2. Name the orbitals described by the following quantum numbers     a. n = 3, L = 0     b. n = 3, L = 1     c. n = 3, L = 2     d. n = 5, L = 0 3. Give the n and L values for the following orbitals     a. 1s     b. 3s     c. 2p     d. 4d     e. 5f โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

4. Place the following orbitals in order of increasing energy:     1s, 3s, 4s, 6s, 3d, 4f, 3p, 7s, 5d, 5p 5. What and the possible mL values for the following types of orbitals?     a. s     b. p     c. d     d. f โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

6. How many possible orbitals are there for n = a. 4 b. 10 7. How many electrons can inhabit all of the n=4 orbitals? 8. Tabulate all of the possible orbitals (by name, i.e. 4s) for n=4 and give the three quantum numbers which define each orbital. 9. Write electron configurations for the following atoms:     a. H     b. Li     c. N     d. F     e. Br โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

Answers 1.     n may be any integer         L may be any integer from 0 to n-1         mL may be any integer from -L to +L         mS may be either + 1/2 or -1/2 2.     a. 3s         b. 3p         c. 3d         d. 5s โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

3. Give the n and L values for the following orbitals     a. 1s     b. 3s     c. 2p     d. 4d     e. 5f 4. Place the following orbitals in order of increasing energy:     1s, 3s, 4s, 6s, 3d, 4f, 3p, 7s, 5d, 5p 5. What and the possible mL values for the following types of orbitals?     a. s     b. p     c. d     d. f 6. How many possible orbitals are there for n =     a. 4     b. 10 7. How many electrons can inhabit all of the n=4 orbitals? โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

Electron configuration โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

s = sharp p = principal d = diffuse f =fundamental Aufbau principle การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานย่อย (Energy sublevel) โดยมีอิเล็กตรอนหมุนเวียนในระดับพลังงานย่อยหลายรูปแบบ ซึ่งเรียกว่าออร์บิตัล (Orbital) แต่ละออร์บิตัลจะมีอิเล็กตรอนได้ 2 ตัว ระดับพลังงานย่อยคือ s = sharp p = principal d = diffuse f =fundamental ซึ่งระดับพลังงานย่อย s มี 1 ออร์บิตัล จึงมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 2 ตัว p มี 3 ออร์บิตัล จึงมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 6 ตัว d มี 5 ออร์บิตัล จึงมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 10 ตัว f มี 7 ออร์บิตัล จึงมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 14 ตัว โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ใช้หลักของเพาลี ในการบรรจุ elctron ลงใน orbital เขียนแทน electron ด้วย (สำหรับ spin ขึ้น) และ (สำหรับ spin ลง) ดังนั้นถ้ามี electron อยู่เต็มจะเขียนแทนด้วย เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่ ( paired electron) ถ้ามี electron เพียง 1 electron นิยมเขียน spin ขึ้น เรียกว่า อิเล็กตรอนเดี่ยว (unpairelectron) โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

การบรรจุ electron ลงใน orbital ให้บรรจุใน orbital ที่มีพลังงานต่ำที่สุดที่ยังว่างอยู่ก่อน ถ้ามี orbital ที่มีระดับพลังงานเท่ากันมากกว่า 1 ขึ้นไป( เช่น p orbital, d orbital) การบรรจุ electron จะอาศัยกฏของฮุนด์(Hund’s rule) ซึ่งกล่าวไว้ว่า “ การบรรจุ electron ใน orbital ที่มีระดับพลังงานเท่ากัน (degenerate orbital ) จะบรรจุในลักษณะที่ทำให้มี electron เดี่ยวมากที่สุดเท่าที่จะมากได้” โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ถ้าทุกๆ orbital ในระดับพลังงานเดียวกันมี electron บรรจุอยู่เต็ม ( 2 electron ต่อ 1 orbital ) เรียกว่า การบรรจุเต็ม (filled configuration) แต่ถ้าทุก orbital มี electron อยู่เพียงครึ่งเดียว เรียกว่าการบรรจุครึ่ง (half-filled configuration) อะตอมที่มีการจัดเรียง electron แบบบรรจุเต็มหรือบรรจุครึ่ง มักจะมีเสถียรภาพมากกว่า atom ที่มีการจัดเรียง electron แบบอื่นๆ เช่น 2p3 เสถียรกว่า 2p4 , 3d5 เสถียรกว่า 3d4 , 3d 10 เสถียรกว่า 3d9 แต่การบรรจุแบบเต็มจะเสถียรกว่าการบรรจุแบบครึ่ง (การบรรจุแบบเต็ม, แบบครึ่งนี้มุ่งเน้นที่ valence electron และชั้นที่ถัดลงมาเท่านั้น ดังนั้น การจัดเรียง electron ของ Cr จึงเป็นแบบ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

Electron configuration พาราแมกเนติก ไดอะแมกเนติก โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

20Ca มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนตัวสุดท้ายมีเลขควอนตัมดังนี้ n = 4 l = 0 m = 0 s = - 1/2 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

แบบฝึกการจัดเรียงอิเล็กตรอน 20Ca 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2 31Ga 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p1 โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ATOMIC ELECTRON CONFIGURATIONS AND PERIODICITY โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

พลังงานความที่น้อยที่สุด ที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม ในสถานะก๊าซ Ionization Energy พลังงานความที่น้อยที่สุด ที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม ในสถานะก๊าซ เรียกว่า พลังงานไอออเซชัน (Ionization energy) หรือ IE มีได้หลายค่า ซึ่งเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่มีอยู่ เช่น ธาตุไฮโดรเจน มี 1 อิเล็กตรอน จะมีเพียง IE เพียง 1 ค่า ในขณะที่ Ne มี 10 อิเล็กตรอน จะมี IE 10 ค่า โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

Ionization Energy Mg(g) Mg+(g) + e : IE1 = 744 kJ/mol โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

IE1 < IE2 < IE3 < IE4 <…….. Ionization Energy IE1 < IE2 < IE3 < IE4 <…….. โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าพลังงานไอออไนเซชัน ขนาดของอะตอม มีผลต่อค่า IE ถ้าอะตอมมีขนาดเล็ก IE จะสูง (เพราะนิวเคลียสส่งแรงดึงดูดไว้มาก) แต่ถ้าอะตอมมีขนาดใหญ่ IE จะต่ำ (เพราะนิวเคลียสส่งแรงดึงดูดอิเล็กตรอนได้น้อย โดยการพิจารณาดังนี้ ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่า IE จะเพิ่มจากล่างขึ้นบน (เพราะธาตุที่อยู่ด้านล่างมีขนาดใหญ่กว่า ธาตุในคาบเดียวกัน ค่า IE จะเพิ่มจากซ้ายไปขวา (เพราะขนาดอะตอมจะลดลงจากซ้ายไปขวา เนื่องจากอะตอมทางขวามีโปรตอนมากกว่าทางซ้าย จึงมีแรงดึงดูดมาก ขนาดจึงเล็ก โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไอออไนเซชัน และระดับพลังงานของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานเดียวกันจะมีค่า IE ไม่แตกต่างกันมากนัก เพราะว่าอยู่ห่างจากนิวเคลียสพอๆ กัน จึงดูดกับนิวเคลียสด้วยแรงใกล้เคียงกัน การดึงอิเล็กตรอนเหล่านี้ออกจากอะตอมจึงใช้พลังงานพอๆ กัน อิเล็กตรอนที่อยู่ต่างพลังงานกัน จะมี IE แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด เพราะอยู่ห่างจากนิวเคลียสต่างกันมาก จึงดึงดูดกับนิวเคลียสด้วยแรงต่างกัน การดึงดูดอิเล็กตรอนเหล่านี้ออกจากอะตอม จึงต้องใช้พลังงานต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไอออไนเซชัน และระดับพลังงานของอิเล็กตรอน จำนวนกลุ่มของ IE ที่แตกต่างกัน แสดงให้ทราบว่าธาตุนั้นมีอิเล็กตรอนอยู่กี่ระดับพลังงานนอกจากนี้ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนบอกให้ทราบว่า ธาตุนั้นอยู่คาบใดในตารางธาตุ อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานนอกสุด เป็นตัวบ่งบอกว่าธาตุนั้นอยู่ในหมู่ใดของตารางธาตุ (พิจารณาได้ชัดเจน สำหรับ 20 ธาตุแรก) โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018

โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ 11/27/2018