การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Influenza A (H1N1) 2009 in Thailand
Advertisements

Conclusion HIV /AIDS surveillance seminar on Mar 2012
สัญญาณเตือนเชื้อไวรัสดื้อยา WHO Early Warning Indicators, EWIs
Prevention With Positives Anupong Chitwarakorn Senior Expert Department of Disease Control.
กรมควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็น คนไทยสุขภาพดี 1 Policy support for prevention HIV drug resistance นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
Resurgence of HIV/AIDS epidemic in Thailand
บทบาทของผู้ให้บริการ ในการเสริมสร้างคุณภาพระบบบริการ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล รักษา มุมมองผู้ให้บริการในพื้นที่ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
Thai youth in Agriculture Sector Situation: The average age of farmers in Thailand who is also living in agriculture increased. Agricultural sector is.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
การให้การปรึกษาเฉพาะ สำหรับกลุ่ม Key Affected Populations (KAPs)
การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
การจัดบริการในห้องปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนในการให้ยาต้านไวรัส เพื่อการป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ (PrEP) และให้บริการยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงถึงระดับ ซีดี
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
HON’s activities Care and Support Program
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
การดำเนินงานด้านเอชไอวี MSM/TG สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Public Health Nursing/Community Health Nursing
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
Real Time Cohort Monitoring RTCM
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนเร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ระดับจังหวัด 26 พฤศจิกายน 2558 อมารี ดอนเมือง นพ.สุเมธ องค์วรรณดี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Estimated number of adults living with HIV, new HIV infections and cumulative HIV cases in Thailand 1985-2030 1,294,077 1,201,839 426,707 1,295,444 282,034 6,053 297,879 7,324 6,139 Source: Summary Result 2010-2030 Projection for HIV/AIDS in Thailand by Thailand Working Group on HIV/AIDS Projection

Thailand HIV/AIDS Situations HIV prevalence (2014) Condom use at last sex (2014) ANC 0.52% ↔ Conscript 0.5% (2013) ↔ FSW 1.1% MSM 9.2% ↑ MSW 11.9% ↔ PWID 19.0% ↔ Migrant 0.81-1.0% (2012) ↔ FSW 96.1% ↔ MSM 82.1% ↔ MSW 95.5% ↔ PWID 47.2% ↔ VCT and knowing status (2014) Status of epidemics ANC (age 15-24) represents a prevalence of HIV in women. Military conscripts represents a prevalence of HIV in men. FSW 54.2% ↑ MSM 30.8% ↑ MSW 53.4% ↑ PWID 61.1% ↑ Needle and Syringe exchange PWID 78% (2010), 81%(2012), 84.9% (2014) Source: IBBS and Sentinel surveillance in 2015 Thailand AIDS Response Report

Selected sentinel sites with HIV prevalence higher than 5% among key populations, 2012 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on Thailand Bureau of Epidemiology. (2012). HIV Serological Surveillance Report, 2012 Thailand - 30th Round

Proportion of key populations who reported condom use at last sex, 2005-2012 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on 1.National AIDS Prevention and Alleviation Committee Thailand. (2008). UNGASS Country Progress Report: Thailand; 2. National AIDS Prevention and Alleviation Committee Thailand. (2010). UNGASS Country Progress Report: Thailand; 3. Bureau of Epidemiology, Thailand. (2010). Integrated Biological and Behavioral Surveillance Survey (IBBS) Men who have Sex with Men 2010 (in Thai); 4. National AIDS Committee Thailand. (2012). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2012; and 5. www.aidsinfoonline.org

Proportion of MSM, transgender people, and male sex workers who reported consistent condom use in the last 3 months, Bangkok, 2010 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on Bureau of Epidemiology, Thailand. (2010). Integrated Biological and Behavioral Surveillance Survey (IBBS) Men who have Sex with Men 2010.

Proportion of sex workers and MSM with comprehensive HIV knowledge by age group, 2007 and 2009 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on 1. UNAIDS. (2010). Global Report: UNAIDS Report on the Global AIDS Epidemic.

Proportion of key populations reached with HIV prevention programmes, 2010-2012 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on 1. National AIDS Committee Thailand. (2012). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2012; 2. . National AIDS Committee Thailand. (2014). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2014; and 3. www.aidsinfoonline.org

Proportion of key populations who received an HIV test in the last 12 months and knew their results, 2007-2012 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on 1. UNAIDS. (2010). Report on The Global AIDS Epidemic, 2010; 2. National AIDS Committee Thailand. (2012). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2012; and 3. National AIDS Committee Thailand. (2014). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2014; and 4. www.aidsinfoonline.org

Number of Needle and Syringe Programme (NSP) and Opioid Substitution Therapy sites (OST), 2011 - 2012 Source: Prepared by www.aidsdatahub.org based on National AIDS Committee Thailand. (2012). Thailand Global AIDS Response Progress Report, 2012.

ในระดับนานาชาติ หากดำเนินการแบบที่เคยทำอยู่จะไม่สามารถยุติปัญหาเอดส์ได้ เป็นความจำเป็นที่ต้องมี Fast track ซึ่งประเทศไทยได้มีการศึกษาว่าถ้าจะยุติปัญหาเอดส์ได้นัน จะมี Fast track อย่างไร

การยุติปัญหาเอดส์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีศักยภาพที่จะเป็นหนึ่งในประเทศแรกในเอเซียที่มีโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายร่วมของประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่มุ่งสู่ความเป็นศูนย์ และถึงจุดที่เรียกว่ายุติปัญหาเอดส์ได้ การยุติปัญหาเอดส์จะเป็นจริงได้ต่อเมื่อประเทศไทยได้ลงทุนเพิ่มเพื่อใช้มาตรการที่ได้ผลสูงของการป้องกันจากการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯเพิ่มเข้ามาในมาตรการการป้องกัน” การประชุม High Level Meeting on HIV/AIDS ใน UN General Assembly มิถุนายน 2559 นี้ ประเทศไทยซึ่งนำทีมโดยนายกรัฐมนตรี ต้องร่วมให้การรับรองปฏิญญาว่าด้วยพันธกรณีเรื่องเอชไอวีและโรคเอดส์ฉบับใหม่และแถลงการณ์ความก้าวหน้าของประเทศในการทำงานมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ เป้าหมายประเทศไทย พ.ศ.2562 พ.ศ.2573 ตรวจหาการติดเชื้อ HIV กินยาต้านไวรัส กดไวรัสในผู้กินยาต้าน > 90% >90% >95% จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ การเลือกปฏิบัติ < 2,600 คน < 50% < 1,000 คน < 10%

หลักการและแนวคิดสำคัญ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี่ทราบว่า การรักษาด้วย ART จนมี viral suppression เป็นกลวิธีที่มีประสิทธิผลในการป้องกันการแพร่เชื้อสูงสุดถึง 96% การศึกษาแบบจำลองในไทย หากลงทุนกับนวัตกรรมนี้เพิ่มอีก 3,000 ล้าน ใน 10 ปี จะลดการติดเชื้อใหม่ได้ 20,000 ราย ลดการเสียชีวิต 22,000 คน และประหยัดได้ 9,000 ล้านบาท โดยสามารถยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยได้ นิยามการยุติปัญหาเอดส์ ไม่มีการติดเชื้อเมื่อแรกคลอด, ผู้ติดเชื้อรายใหม่ในผู้ใหญ่เหลือน้อยกว่า 1,000 รายต่อปี ภาพจำลองแนวโน้มการติดเชื้อใหม่รายปี ในสถานการณ์ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ และแผนยุทธศาสต์เอดส์ชาติที่ผนวกกลวิธียุติปัญหาเอดส์ Expand HCT and Treatment as Prevention to KAP in the ending AIDS responses

ยุทธศาสตร์มุ่งเติมเต็มช่องว่างระหว่างการดำเนินงานในปัจจุบันกับการดำเนินงานที่มีประสิทธิผลที่จำเป็นต่อการยุติปัญหาเอดส์ ปรับเปลี่ยนมโนทัศน์จากควบคุมโรคเป็นยุติปัญหาเอดส์ ส่งเสริมทุกคนให้รู้สถานะการติดเชื้อ ครอบคลุม 90% ประชากรหลักสำคัญคือ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการและลูกค้า ผู้ใช้สารเสพติดแบบฉีด ผู้ต้องขัง คู่ของกลุ่มประชากรสำคัญและผู้มีผลเลือดต่าง กำหนดชุดบริการป้องกันผสมผสาน ที่เหมาะสมกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และพื้นที่ ผสมผสาน ประโยชน์ด้านการป้องกันของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ กับ การป้องกันด้านพฤติกรรม โดยเริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อที่ทุกระดับ CD4 การเพิ่มคุณภาพบริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส พัฒนาสภาพแวดล้อมทางนโยบาย การบริหารจัดการข้อมูล เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน และลดการตีตราหรือเลือกปฏิบัติ

ชุดบริการที่มีความเหมาะสม ด้านพื้นที่: จังหวัดเป้าหมายซึ่งมีความชุกสูงที่สุด, ขนาดประชากรเป้าหมายสำคัญมากที่สุด และลักษณะเฉพาะอื่นๆ ด้านประชากร : มุ่งการทำงานในกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูงสุด ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการชาย พนักงานบริการหญิง ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ผู้ต้องขัง เยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงสูง ประชากรข้ามชาติที่มีภาวะเสี่ยงสูง คู่ของ : สมาชิกในกลุ่มประชากรหลัก ผู้ติดเชื้อฯซึ่งอยู่ในระบบดูแลสุขภาพ ART clinic ANC clinic Package 1: Most intensive Package 2: Intensive PWID คือ? Package 3: Specific context Package 4: Basic services

ประชากร และพื้นที่เป้าหมาย 89% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 38,883 คน อยู่ในกลุ่มประชากรหลัก 66% ของผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่ อยู่ใน 33 จังหวัด

กรอบแนวคิดหลักแผนงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์ การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง Reach&Recruit เข้าหาและเชิญชวนเข้ารับบริการ สร้างความต้องการใช้บริการ (Condom, VCT, Needle and syringe) Test การตรวจเลือดแบบรู้ผล วันเดียว (SDR) รูปแบบบริการที่เป็นมิตร ตรวจหาการติดเชื้อเป็นประจำ Treat เข้ารักษาด้วยยาต้านไวรัส แต่เนิ่นๆ บริการ ART ที่ได้คุณภาพ รูปแบบบริการที่เป็นมิตร Retain คงอยู่ในระบบบริการ ทั้งผู้ที่กินยาต้านแล้วและ ยังไม่เริ่มกินยาต้าน มาตรวจ VCT ซ้ำอย่างสม่ำเสมอ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและความเป็นเจ้าของโดยชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมทางกฎหมายให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์และการใช้ประโยชน์ การบริหารจัดการและสนับสนุนด้านวิจัยและพัฒนา

กิจกรรมเพื่อส่งเสริม RRTTR Reach (เข้าถึง) ทำ mapping จุดรวมตัวของกลุ่มเป้าหมายและmapping สถานบริการ/บันเทิง เพื่อประกอบการวางแผนการ reach และ recruit กลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ระบบ ด้วยมาตรการต่างๆ เช่น peer education หรือการจัด mobile service การทำงานเชิงรุก (Outreach approach) โดยกลุ่มเพื่อน (Peer-led intervention) เพื่อเข้าหากลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ สร้างความต้องการรับบริการ แจกจ่ายถุงยางอนามัยหรือเข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาดและการจัดหน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่เพื่อบริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และ VCTในกลุ่มประชากรเป้าหมาย การสร้างเครือข่ายบริการในชุมชน เช่น ร้านขายยา คลินิกเอกชน รพ.สต. Drop in center สื่อสารสาธารณะและสื่อ Social media เพื่อเจาะกลุ่มเป้าหมาย สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้เกิดความตระหนัก การสนับสนุนอุปกรณ์เพื่อการป้องกันโรค เช่น ถุงยางอนามัยหรือเข็มและอุปกรณ์ฉีดยาที่สะอาด Recruit (นำกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่บริการสุขภาพ) การพัฒนาระบบส่งต่อและมีการส่งต่อจากชุมชนสู่โรงพยาบาลเพื่อรับบริการ การสร้าง Brand ของหน่วยบริการสุขภาพเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้จักและมั่นใจในคุณภาพ ทั้งนี้ควรมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือรับบริการสารทดแทนฝิ่น Test (ตรวจหาการติดเชื้อ) จัดบริการตรวจหาการติดเชื้อแบบรู้ผลวันเดียว (SDR) ที่โรงพยาบาล รพ.สต. หรือรูปแบบคลินิกเคลื่อนที่ ณ แหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย หรือการจัดบริการตรวจ SDR โดยองค์กรเอกชน ภาคชุมชน การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยต่างๆในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาลเพื่อส่งผู้ติดเชื้อเข้ารับบริการที่เหมาะสม รูปแบบบริการที่เป็นมิตร (Friendly service) Treat (รักษาด้วยยาต้านไวรัส) บริการตรวจ CD4 ทันที การตรวจ Viral Load, Genotype การรักษาด้วยยาต้านไวรัสแต่เนิ่นๆ Retain (ทำให้คงอยู่ในระบบ) Retention in care (Pre-ART and ART) Adherence Task shifting Drug resistance monitoring

ต.ย.ชุดบริการ RRTTR และระดับความเข้มข้นของการดำเนินงาน MSM + TG ชุดบริการ 1 เข้มข้นมาก ชุดบริการ 2 เข้มข้น ชุดบริการ 3 บริบทเฉพาะ ชุดบริการ 4 พื้นฐาน ข้อพิจารณาสำหรับการจัดชุดบริการ คาดประมาณว่ามี high risk MSM+TG > 6 พันคน -คาดประมาณว่ามี high risk MSM+TG 3-5 พันคน -คาดประมาณว่ามี high risk MSM+TG 2-3 พันคน เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ -ไม่มีองค์กรพัฒนาเอกชนทำงานในพื้นที่ มีนักท่องเที่ยว วิทยาลัยมหาวิทยาลัยและสถานบันเทิงจำนวนมาก การเข้าถึง REACH การทำแผนที่ชุมชนและวางแผนระดับพื้นที่ วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในพื้นที่พิเศษ( Hotspot) วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในพื้นที่พิเศษ(Hotspot) ไม่จำเป็น การเข้าถึงผ่านตัวบุคคล เข้าถึงผ่านเครือข่ายทางสังคมของกลุ่ม ใช้Peer Driven Intervention จัดกิจกรรมชุมชนค้นหาแกนนำและทำให้แกนนำร่วมดำเนินการต่อเนื่อง ลงพื้นที่hotspotในช่วงกลางคืน เยี่ยมแหล่งและจัดกิจกรรมชุมชนโดย เจ้าหน้าที่ สธ. เข้าถึงผ่านบริการโรค STIs อุปกรณ์ป้องกัน ถุงยางอนามัยชาย / หญิง และสารหล่อลื่น ถุงยางอนามัยชาย /หญิง และสารหล่อลื่น

ต.ย. ชุดบริการ RRTTR และระดับความเข้มข้นของการดำเนินงาน FSW ชุดบริการ 1 เข้มข้นมาก ชุดบริการ 2 เข้มข้น ชุดบริการ 3 บริบทเฉพาะ ชุดบริการ 4 พื้นฐาน ข้อพิจารณาสำหรับการจัดชุดบริการ พื้นที่มี FSW ทำงานหลากหลาย พื้นที่มีนักท่องเที่ยวมาก(โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างชาติ) พื้นที่มี FSW 1-3 พันคน พื้นที่มี FSW ต่างชาติมากหรือเป็นเขตชายแดน ทำงานบริการชัดเจนและไม่ชัดเจน มีสถานที่ทำงาน+อยู่ในที่สาธารณะ เป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจหรือพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ มีจำนวนFSWมากในช่วงฤดูท่องเที่ยว การเข้าถึง REACH การทำแผนที่ชุมชนและวางแผนระดับพื้นที่ วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในพื้นที่พิเศษ( Hotspot) วางแผนโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแผนที่ชุมชนปีละครั้งและสำรวจเชิงลึกเพิ่มเติมในพื้นที่พิเศษ(Hotspot) สำรวจปีละครั้ง และวางแผนจากผลการสำรวจ การเข้าถึงผ่านตัวบุคคล เข้าถึงผ่านเครือข่ายทางสังคมของกลุ่ม ใช้Peer Driven Intervention จัดกิจกรรมชุมชนค้นหาแกนนำและทำให้แกนนำร่วมดำเนินการต่อเนื่อง จัดทำสื่อที่เป็นภาษาของFSWต่างชาติ ในรูปแบบที่เหมาะสม เยี่ยมแหล่งและจัดกิจกรรมชุมชนโดย เจ้าหน้าที่ สธ. เข้าถึงผ่านบริการโรค STIs อุปกรณ์ป้องกัน ถุงยางอนามัย และสารหล่อลื่น ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น

ต.ย. ชุดบริการ RRTTR และระดับความเข้มข้นของการดำเนินงาน PWID ชุดบริการ 1 เข้มข้นมาก ชุดบริการ 2 เข้มข้น ชุดบริการ 3 บริบทเฉพาะ ชุดบริการ 4 พื้นฐาน ข้อพิจารณาสำหรับการจัดชุดบริการ พื้นที่มีจำนวน PWID มาก เป็นพื้นที่ที่มีภาระโรคสูงและชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมที่ซับซ้อน เป็นพื้นที่ที่มีภาระโรคสูง การเข้าถึง REACH การทำแผนที่ชุมชนและวางแผนระดับพื้นที่ ประเมินชุมชนแบบรวดเร็วทุก 2 ปีด้วยการมีส่วนร่วมของภาคีในจังหวัดและนำข้อมูลมาวางแผนโดยบูรณาการกับแผนงานยาเสพติด ไม่จำเป็น การเข้าถึงผ่านตัวบุคคล เข้าถึงผ่านเครือข่ายทางสังคมของกลุ่มและศูนย์รักษาด้วยเมทาโดนระยะยาว ใช้บัตรจากผู้ให้บริการเชิงรุกหรือแกนนำไปรับอุปกรณ์ปลอดเชื้อที่ร้านยาฯ จัดกิจกรรมชุมชนค้นหาแกนนำและทำให้แกนนำร่วมดำเนินการต่อเนื่อง ประชุมพบปะอย่างสม่ำเสมอกับผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ผ่านคลินิกเมทาโดน การเข้าถึงด้วยช่องทางอื่น ข้อมูลจากการสำรวจชุมชนจะช่วยให้แนวทางในการเข้าถึง อุปกรณ์ป้องกัน ถุงยางอนามัย และสารหล่อลื่น ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น

เพื่อนของเพื่อนของแกนนำ สสจ. Reach & Recruit ร.พ. จนท.ภาคสนาม Outreach worker แกนนำ Peer-educator เพื่อนของแกนนำ เพื่อนของเพื่อนของแกนนำ

ผลการดำเนินงาน โครงการฯ 11 จังหวัด 1 ก.พ. – 31 ธ.ค.57 เป้าหมาย(ผลลัพธ์) เป้าหมาย ผลงาน % ของเป้าหมาย การวิเคราะห์ จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายเข้าถึงกระบวนการสร้างความต้องการในการรับบริการตรวจ เอชไอวี 11,137 12,512 112 2. จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มี ความเสี่ยงสูงได้รับบริการตรวจ เอชไอวีและทราบผล 1,203 2,100 175 16.8 % ของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงฯ (1) 3. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ ตรวจพบใหม่ 242 202 83 9.6 % ของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตรวจเอชไอวี (2) 4. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีตรวจพบ ใหม่ที่มี CD4 >350 เซลล์/ลบ.มม. 72 86 119 42.6 % ของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายติดเชื้อเอชไอวีที่ตรวจพบใหม่ (3) 5. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีตรวจพบ ใหม่ที่ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์ การรักษา 117 109 93 54 อยุธยา พังงา ระยอง หนองคาย ตรัง บุรีรัมย์ พะเยา ลพบุรี สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พบความชุกจากการตรวจเลือดตั้งแต่ 5 -55%

Thailand National Guidelines on HIV/AIDS Treatment and Prevention 2014: ARV initiation regardless of CD4 level Recommendations for antiretroviral therapy initiation in Thai HIV-infected adolescents and adults Recommend initiating antiretroviral therapy for all HIV-infected patients regardless of CD4 cell count, especially focus on the patients with CD4 count <500 cells/mm3 In case of CD4 count >500 cells/mm3, taking into account the following issues Patients have to understand the benefit and side effects of treatment as well as adhering to the regimens Patients may decide to postpone antiretroviral therapy Assess the readiness of the patients to start antiretroviral therapy In case of asymptomatic HIV-infected patients, the major benefit is to decrease rate of HIV transmission

กลุ่มเป้าหมาย (KPs) เช่น MSM SW TG PWID เยาวชน (YKP) มาตรการ....นำผู้ติดเชื้อเข้าสู่ระบบ (Reach-Recruit)........ ตัวชี้วัดกำกับมาตรการ จำนวนประชากรเป้าหมายทราบถึงประโยชน์ของการตรวจหาการติดเชื้อ และการกินยาต้านไวรัส และทราบสถานที่รับบริการ จำนวนและร้อยละของประชากรเป้าหมายที่เข้ารับบริการ counseling และตรวจหาการติดเชื้อพร้อมทั้งทราบผลการตรวจในวันเดียว หรือ คัดกรอง STIs ที่โรงพยาบาลหรือหน่วยบริการเคลื่อนที่ จำนวนการคาดประมาณประชากรเป้าหมายแต่ละกลุ่มในพื้นที่รับผิดชอบ วัตถุประสงค์……… กิจกรรมหลักที่ 1 การทำงานเชิงรุก (Outreach approach) ตัวชี้วัดความสำเร็จ …จำนวน outreach worker ที่ผ่านการอบรมและปฏิบัติงาน, จำนวนปชก.เป้าหมายที่ได้รับความรู้และถูกชักชวนเข้ารับบริการ VCT คำอธิบายและวิธีดำเนินการ …(ค้นหา..เข้าถึง..เน้นความสัมพันธ์..ช่วยเหลือ) กลุ่มเป้าหมาย (KPs) เช่น MSM SW TG PWID เยาวชน (YKP) กิจกรรมหลักที่ 2 การจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่ (Mobile clinic) ตัวชี้วัดความสำเร็จ…จำนวนครั้งของการจัด mobile clinic , จำนวนการให้บริการ VCTแบบรู้ผลวันเดียว หรือ คัดกรอง STI , จำนวนผู้มารับบริการที่ mobile clinic คำอธิบายและวิธีดำเนินการ……..

คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ................................ กิจกรรมหลักที่ 3 การสร้างเครือข่ายบริการในชุมชน (Network building in community) ตัวชี้วัดความสำเร็จ....จำนวนเครือข่าย เช่น ร้านขายยา คลินิกเอกชน drop in center รพ.สต. ที่ร่วมปฏิบัติงานป้องกันและดูแลรักษาในพื้นที่รับผิดชอบ, จำนวนคนที่ถูกส่งโดยเครือข่าย (ร้านขายยา คลินิกเอกชน drop in center รพ.สต.) สู่โรงพยาบาล คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ................................ กิจกรรมหลักที่ 4 สื่อสารสาธารณะ (Public communication) ตัวชี้วัดความสำเร็จ....จำนวนครั้งของการรณรงค์ในที่สาธารณะและการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ, จำนวนประชากรเป้าหมายรับทราบข้อมูลประชาสัมพันธ์จากแหล่งต่างๆ (outreach worker หรือ ผ่านวิทยุ หรือ ผ่านแผ่นพับ/ป้ายประชาสัมพันธ์ หรือ ผ่านทีวี หรือ ผ่าน website หรือ แหล่งอื่นๆ) คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ..................................... กิจกรรมหลักที่ 5 การสนับสนุนอุปกรณ์เพื่อการป้องกันโรค (เช่น ถุงยางอนามัย เข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด) ตัวชี้วัดความสำเร็จ...จำนวนถุงยางอนามัย หรือ เข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาที่สะอาดส่งถึงมือประชากรเป้าหมาย, อัตราการใช้ฯ คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ..........................

กิจกรรมหลักที่ 6 การส่งต่อเพื่อรับบริการที่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดความสำเร็จ...การมีระบบส่งต่อและติดตามผลสำเร็จของการส่งต่อเข้าสู่บริการดูแลรักษา (เช่น การใช้ UIC), จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการส่งต่อทั้งหมด, กลุ่มเป้าหมายฯที่ได้รับบริการ VCT แบบ SDR หรือ ตรวจรักษา STI หรือ รับยาต้านไวรัส, จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกติดตามการส่งต่อในระบบ UIC......... คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ........(สร้างเครือข่าย...ใคร อยู่ที่ไหน ทำอะไร ติดต่ออย่างไร...).....(เครื่องมือที่ใช้ในการส่งต่อและแนวปฏิบัติ...SOP?) .....(การเขียนแผนผังการส่งต่อและขั้นตอน)....

คำอธิบายและวิธีดำเนินการ มาตรการ....ตรวจหาการติดเชื้อ (Test)........ ตัวชี้วัดกำกับมาตรการ จำนวนผู้รับบริการ VCT ทั้งหมดและแยกตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวนหรือร้อยละผู้ตรวจพบเชื้อ HIV จำนวนหรือร้อยละผู้ตรวจพบเชื้อที่ลงทะเบียนในระบบรักษา จำนวนหรือร้อยละการตรวจเลือดซ้ำในประชากรเป้าหมาย วัตถุประสงค์.................. ถือเป็นช่องทางหลักในการเข้าสู่การดูแลรักษา และสร้างความตระหนักในการป้องกันตนเอง กิจกรรมหลักที่ 1 จัดบริการตรวจหาการติดเชื้อแบบรู้ผลวันเดียว (SDR) ที่โรงพยาบาล รพ.สต. หรือรูปแบบคลินิกเคลื่อนที่ ณ แหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย หรือการจัดบริการตรวจ SDR โดยองค์กรเอกชน ภาคชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ...จำนวนหน่วยงาน (รพ, รพสต., Drop in center) ที่จัดบริการ VCT แบบรู้ผลวันเดียว, จำนวนหรือร้อยละของผู้รับบริการ VCT แบบรู้ผลวันเดียวที่หน่วยงาน (รพ, รพสต. Drop in center), จำนวนหน่วยงานที่จัด mobile clinic ให้บริการ VCT แบบรู้ผลวันเดียว คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ........แบบตั้งรับในสถานพยาบาล หรือ แบบเชิงรุกในชุมชน.......HOT SPOT

ตัวอย่างการจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียวนอกสถานที่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) การให้บริการในพื้นที่ปิด เช่น ในดรอปอิน ผับ บาร์ ซาวน่า อาบอบนวด โรงแรม หรือร้านเสริมสวย เป็นต้น (2) การให้บริการในพื้นที่เปิด เช่น สวนสาธารณะ ลานจอดรถในห้างสรรพสินค้า ตลาด เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะจัดให้บริการแบบใดยังคงยึดหลักการรักษาความลับ และความเป็นส่วนตัวของผู้รับบริการ ขั้นตอนการให้บริการ ขั้นตอนก่อนออกให้บริการ 1. การประชุมทีมผู้ให้บริการซึ่งประกอบด้วย ผู้ให้การปรึกษา นักเทคนิคการแพทย์หรือพยาบาลที่ทำหน้าเจาะเลือด เจ้าหน้าที่ภาคประชาสังคม และเจ้าหน้าที่สนับสนุนอื่นๆ ที่คอยประสานงานในหน่วยบริการ วัตถุประสงค์ของการจัดประชุมคือ เพื่อวางแผนการทำงาน จัดเตรียมพื้นที่ ประชาสัมพันธ์การบริการ และแบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ 2. เจ้าหน้าที่ภาคประชาสังคมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์การให้บริการ แจกถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น เอกสารข้อมูลความรู้ หรือทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย 3. เตรียมอุปกรณ์ออกหน่วยบริการและประสานการใช้พื้นที่ 4. ประสานงานด้านระบบส่งต่อให้ชัดเจนในกรณีพบผลบวก โดยเตรียมชื่อผู้ติดต่อ สถานที่ แผนก เบอร์โทร ฯลฯ และขั้นตอนการติดตามเพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับบริการไปรับบริการหลังส่งต่อ ขั้นตอนในวันออกให้บริการ เจ้าหน้าที่ภาคประชาสังคมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์การให้บริการ แจกถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น เอกสารข้อมูลความรู้อีกครั้ง ส่วนงานด้านบริการ จัดพื้นที่ในการให้บริการ ดังนี้ 1. จัดโต๊ะลงทะเบียน ของที่ระลึกและเอกสารแจกต่างๆ 2. จัดผังทางเดินเข้า-ออกห้องหรือมุมให้การปรึกษา ถ้าเป็นไปได้ควรให้ผู้มารับบริการ เข้า-ออก คนละทางกัน ผู้ให้การปรึกษาควรชี้แจงให้ทุกคนรับทราบก่อนเข้ารับบริการถึงรูปแบบการให้บริการ 3. จัดห้องหรือมุมรับบริการปรึกษาและรอตรวจ ควรห่างจากบริเวณที่ให้การปรึกษา และบริเวณที่ตรวจเลือดพอสมควร หรืออยู่คนละชั้นหากพื้นที่เหมาะสม (ในระหว่างรออาจทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้ความรู้เรื่องเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) 4. ห้องหรือมุมให้การปรึกษา ควรเป็นห้องมิดชิด หรือเป็นส่วนตัวไม่ควรได้ยินเสียงทะลุถึงภายนอกห้องเพื่อรักษาความลับ 5. บริเวณเจาะเลือด ห้องแล็ปและตรวจเลือดทดสอบเอชไอวี ควรเป็นส่วนที่แยกต่างหาก ไม่ห่างกับส่วนให้การปรึกษามากนัก จุดเจาะเลือด และจุดตรวจเลือดควรมีฉากกั้น เพื่อไม่ให้ผู้มารับบริการที่มาเจาะเลือดเห็นบริเวณที่ทำการตรวจเลือด ควรเป็นห้องที่สะอาดถูกสุขลักษณะ ไม่มีฝุ่นละออง มีแสงสว่างพอเพียงในการอ่านผลการทดสอบ และมีภาชนะสำหรับทิ้งอุปกรณ์ติดเชื้อ และขยะทั่วไป ควรมีจุดจ่ายกระแสไฟฟ้า เพื่อใช้กับเครื่องปั่นแยกเม็ดเลือดและซีรั่ม (กรณีต้องใช้น้ำยาที่ต้องใช้ซีรั่มในการตรวจ) ขั้นหลังการออกให้บริการ 1. บันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล 2. กรณีตรวจพบการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ร่วมด้วย ติดตามเพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา และติดตามคู่สัมผัสมาตรวจ 3. กรณีผลเลือดบวก ติดตามเพื่อตรวจ CD4 / ชวนคู่มาตรวจ 4. กรณีผลเลือดลบ ติดตามเพื่อเข้ารับการตรวจเอชไอวีอย่างสม่ำเสมอ

คำอธิบายและวิธีดำเนินการ กิจกรรมหลักที่ 2 การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยต่างๆในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาลเพื่อส่งผู้ติดเชื้อเข้ารับบริการที่เหมาะสม ตัวชี้วัดความสำเร็จ..การมีระบบเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องและกำหนดบทบาทไว้อย่างชัดเจน, จำนวนหรือร้อยละของผู้ที่ตรวจพบเชื้อฯได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ......(มีส่วนหนึ่งของผู้ติดเชื้อที่สูญหายในรพ.!!) กิจกรรมหลักที่ 3 รูปแบบบริการที่เป็นมิตร (Friendly service) ตัวชี้วัดความสำเร็จ... หน่วยงานที่จัดบริการแบบเป็นมิตรสำหรับประชากรเป้าหมาย, จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้ารับริการที่หน่วยงาน คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ...จัดอบรมเจ้าหน้าที่ มีขั้นตอนการนิเทศน์ติดตามและกำหนดตัวทีมนิเทศน์ติดตาม มีประกาศรับรองสถานบริการที่เป็นมิตร (ใบประกาศมีวันหมดอายุ) ............ กิจกรรมหลักที่ 4 เวทีระดับจังหวัดที่ให้ผู้เกี่ยวข้องได้ประชุมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุงระบบส่งต่อ ตัวชี้วัดความสำเร็จ. จำนวนการจัดประชุม และรายงานการประชุมในหัวข้อสำคัญต่างๆ คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ......(อนุกรรมการเอดส์จังหวัด หรือ PCM หรือ รูปแบบอื่นๆ)

เกณฑ์มาตรฐานบริการที่เป็นมิตร ประเด็นสำคัญ เกณฑ์มาตรฐานบริการที่เป็นมิตร 1. เจ้าหน้าที่ในคลินิก เกณฑ์มาตรฐานที่ 1 ความรู้ ความสามารถและทักษะ มีความรู้ความสามารถในงานบริการ คือ การให้คำปรึกษา การดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และอนามัยเจริญพันธุ์ มีทัศนคติเชิงบวกและเข้าใจวิถีชีวิต และเพศวิถี เกณฑ์มาตรฐานที่ 2 พฤติกรรมบริการ ให้บริการอย่างสุภาพและเป็นมิตร ให้เวลากับผู้รับบริการอย่างเพียงพอ ให้ข้อมูล คำแนะนำชัดเจน ดูแลเอาใจใส่ กระตือรือร้น เต็มใจให้บริการ ไม่เลือกปฏิบัติในการให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย 2. สิทธิของผู้รับบริการ เกณฑ์มาตรฐานที่ 3 การสนับสนุนจากหน่วยงาน มีนโยบายของหน่วยงานที่สนับสนุนการให้บริการแบบไม่เลือกปฏิบัติ/เหยียดเพศ เกณฑ์มาตรฐานที่ 4 การสะท้อนความคิดเห็นต่อบริการ มีระบบและขั้นตอนการร้องเรียนที่ชัดเจน สำหรับกรณีที่ถูกเลือกปฏิบัติหรือถูกคุกคาม 3. การจัดระบบบริการ เกณฑ์มาตรฐานที่ 5 การบริการแรกรับ ป้ายบอกทาง ป้ายคลินิกเห็นชัดเจนและเข้าใจง่าย การต้อนรับโดยผู้ให้บริการควรมีความละเอียดอ่อนต่อประเด็นเรื่องกลุ่มเสี่ยงสูง เกณฑ์มาตรฐานที่ 6 การให้บริการ สถานที่ที่เป็นส่วนตัวไม่รวมกับผู้รับบริการอื่น ระบบบริการประกอบด้วย ขั้นตอนการให้บริการที่สะดวก ระยะเวลารอคอยไม่นาน มีบริการครอบคลุมทั้งการดูแลรักษา การปรึกษา การติดตามหลังการรักษาและการส่งต่อบริการ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ มีช่องทางในการให้ความรู้ ที่นอกเหนือไปจากการรับบริการที่คลินิก เช่น hot line, website, Facebook, เป็นต้น รวมถึงสื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารให้ความรู้ เกณฑ์มาตรฐานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการ มีการติดตามการบริการเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบ พัฒนาบริการอย่างมีความเข้าใจ และตอบสนองต่อลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเข้าใจในประเด็นเชิงสังคมต่างๆที่กลุ่มเป้าหมายต้องเผชิญ 4. การรักษาความลับและการเคารพสิทธิ์ เกณฑ์มาตรฐานที่ 8 การให้บริการต้องอธิบายเหตุผลในการถามข้อมูลส่วนตัว และผู้รับบริการสามารถปฏิเสธการตอบคำถามข้อมูลส่วนตัว ใช้รหัสและการบันทึกข้อมูลที่เฉพาะตัว มีการจัดเก็บข้อมูลการรับบริการอย่างเป็นระบบโดยเน้นเรื่องการรักษาความลับและจำกัดผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูล 5. การประสานงานกับชุมชน เกณฑ์มาตรฐานที่ 9 มีตัวแทนของกลุ่มเป้าหมายอยู่ในคณะกรรมการโครงการ คณะกรรมการคลินิก เพื่อติดตามการดำเนินงานและวางแผนการพัฒนางานร่วมกัน

มาตรการ....รักษาด้วยยาต้านไวรัส (Treat)........ ตัวชี้วัดกำกับมาตรการ จำนวนหรือร้อยละผู้รับยาต้านไวรัส จำนวนหรือร้อยละกลุ่มประชากรเป้าหมายได้รับยาต้านไวรัส ค่ามัธยฐานระดับ CD4 เมื่อเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัสครั้งแรก จำนวนหรือร้อยละการส่งตรวจ VL ในผู้รับยาต้านไวรัสอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง วัตถุประสงค์.......เพื่อรับยาต้านไวรัสแต่เนิ่นๆ และลดโอกาสการถ่ายทอดเชื้อต่อไป กิจกรรมหลักที่ 1 รูปแบบบริการที่เป็นมิตร (Friendly service) ตัวชี้วัดความสำเร็จ...จำนวนหน่วยงานที่จัดบริการแบบเป็นมิตรสำหรับประชากรเป้าหมาย, จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้ารับริการที่หน่วยงาน คำอธิบายและวิธีดำเนินการ .......................... กิจกรรมหลักที่ 2 การจัดบริการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่สถานพยาบาล ตัวชี้วัดความสำเร็จ...หน่วยงานมีระบบบริการที่ได้มาตรฐานสำหรับกลุ่มประชากรต่างๆ หรือมีการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาฯ, จำนวนปชก.เป้าหมายแต่ละกลุ่มที่เข้ารับบริการ คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ....การติดเชื้อเอชไอวีเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาได้ และต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

ความครอบคลุมการส่งตรวจ ผลการวัดความครอบคลุมของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสของโรงพยาบาลด้วย HIVQUAL-T ข้อสรุปจากการพัฒนามาตรฐานการดูแลรักษา - มาตรฐานการดูแลรักษามีการพัฒนาดีขึ้นอย่างชัดเจน เช่น การคัดกรองด้านต่างๆ ทั้งวัณโรค มะเร็งปากมดลูก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดตามการรักษา เช่น ความครอบคลุมการตรวจ CD4 และ Viral load การให้ยา ARV ตามเกณฑ์ และการให้ยาป้องกันปอดอักเสบ - รพ.ที่เข้าร่วมโครงการมีผลการดำเนินงานดูแลรักษา โดยเฉพาะการลดอัตราการขาดนัด และความครอบคลุมการส่งตรวจ Viral load ดีกว่า รพ.ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ ความครอบคลุมการส่งตรวจ การได้รับยาต้าน และยาป้องกัน การคัดกรองโรค ที่มา: รายงานผลการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย (HIVQUAL-T)

กิจกรรมหลักที่ 3 บริการตรวจ CD4 ทันที และ การตรวจ Viral Load, Genotype ตัวชี้วัดความสำเร็จ...จำนวนหรือร้อยละของการตรวจ CD4 ภายในเวลาไม่เกิน 3 เดือนหลังทราบผลการติดเชื้อ, จำนวนหรือร้อยละของการตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี, ร้อยละของการส่งตรวจ VL และได้รับการแจ้งผลใน 2 สัปดาห์, จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อที่กินยาต้านฯและมีข้อบ่งชี้ได้รับการส่งตรวจ Drug resistance testing และได้ผลตรวจภายใน4 สัปดาห์หลังพบเกณฑ์บ่งชี้ คำอธิบายและวิธีดำเนินการ (ดูรายละเอียดในบทที่ 2) กิจกรรมหลักที่ 4 การรักษาด้วยยาต้านไวรัสแต่เนิ่นๆ ตัวชี้วัดความสำเร็จ...ค่ามัธยฐาน CD4 เมื่อเริ่มยาต้านไวรัส หรือสัดส่วนของผู้ที่มี CD4 < 200 ในกลุ่มผู้ที่เริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัส, จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่ลงทะเบียนเข้ารับบริการดูแลรักษา, จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่ลงทะเบียนเข้ารับบริการดูแลรักษาและได้รับยาต้านไวรัส, จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่เข้าเกณฑ์เริ่มยาต้านไวรัส แต่ไม่ได้รับยาต้านไวรัส คำอธิบายและวิธีดำเนินการ (ดูรายละเอียดในบทที่ 3 และ 4 ส่วนตัวชี้วัดให้ดูจาก NAP)

มาตรการ....ทำให้คงอยู่ในระบบ (Retain)........ ตัวชี้วัดกำกับมาตรการ จำนวนหรือร้อยละผู้กินยาต้านที่คงอยู่ในการรักษา (retention rate) จำนวนหรือร้อยละผู้กินยาต้านที่เสียชีวิต ทั้งที่ยังไม่เริ่มยาต้านและที่กำลังกินยา อัตราการขาดการติดตามการรักษาทั้ง ผู้ที่ยังไม่เริ่มยาต้านและที่กำลังกินยาต้านไวรัส ร้อยละผู้ติดเชื้อที่กินยาต้านไวรัสที่มี VL < 50 copies/ml ร้อยละของผู้กินยาต้านที่คงการรักษาด้วยยาสูตรพื้นฐานหรือสูตรทางเลือก วัตถุประสงค์ กิจกรรมหลักที่ 1 การคงอยู่กับการรักษา (Retention in care) ตัวชี้วัดความสำเร็จ...retention rate ทั้งผู้ที่ยังไม่เริ่มยาต้านและกำลังกินยาต้านไวรัส คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ....(สาเหตุที่ไม่มารับยาอาจเพราะอุปสรรคส่วนตัวและ/หรืออุปสรรคเชิงโครงสร้าง) กิจกรรมหลักที่ 2 Adherence ตัวชี้วัดความสำเร็จ…ร้อยละของผู้กินยาต้านไวรัสที่มาติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง คำอธิบายและวิธีดำเนินการ

กิจกรรมหลักที่ 3 การผ่องถ่ายภาระงาน (Task shifting) ตัวชี้วัดความสำเร็จ....จำนวนหน่วยงาน เช่น รพ.สต. มีการจัดบริการ VCT หรือ บริการยาต้านไวรัส คำอธิบายและวิธีดำเนินการ ....(การคัดกรองโรค...การดูแลรักษา....การส่งเสริมสุขภาพ....การส่งต่อ...) กิจกรรมหลักที่ 4 การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านไวรัส (Drug resistance monitoring) ตัวชี้วัดความสำเร็จ...จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อที่กินยาต้านไวรัสที่มี VL < 50 copies/mL มากกว่าร้อยละ 85, ร้อยละของผู้ที่กินยาต้านไวรัสคงการรักษาด้วยยาสูตรพื้นฐานหรือสูตรทางเลือกมากกว่าร้อยละ 85, จำนวนหรือร้อยละของผู้ติดเชื้อที่เปลี่ยนสูตรยาจากสาเหตุดื้อยาไม่เกินร้อยละ 1, หน่วยบริการไม่มีผู้ติดเชื้อที่ต้องหยุดยาชั่วคราวจากปัญหายาหมดคลัง, ผู้ติดเชื้อที่ตรวจพบ drug resistance ได้รับการแก้ไขตามความเหมาะสมภายในสองสัปดาห์หลังทราบผล คำอธิบายและวิธีดำเนินการ

กิจกรรมหลักที่ 5 การมีส่วนร่วมจากภาคชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ...ภาคชุมชนหรือตัวแทนกลุ่มประชากรเป้าหมายมีส่วนร่วมกำหนดทิศทาง วางแผน และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ คำอธิบายและวิธีดำเนินการ

มาตรการร่วมเพื่อสนับสนุนมาตรการที่กล่าวมา ได้แก่ 1 การลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในระบบบริการสุขภาพ 2 การใช้ข้อมูลเพื่อติดตามประสิทธิภาพการดำเนินงานและการพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษาพยาบาล มาตรการ... ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในระบบบริการสุขภาพ........ ตัวชี้วัดกำกับมาตรการ 1.จำนวนการตีตราและการถูกเลือกปฏิบัติที่ลดลง 2. จำนวนเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการผ่าน Sensitivity training 3. จำนวนหน่วยงานที่ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ในสถานที่ทำงาน วัตถุประสงค์ ............................

ประเภทของชุดบริการ ในแต่ละกลุ่มประชากร

คณะอนุกก. ระดับประเทศ ด้านต่างๆ คณะอนุ กก. ขับเคลื่อนการยุติปัญหาเอดส์ รูปแบบการกำกับติดตามการทำงาน คช.ปอ. คณะอนุกก. ระดับประเทศ ด้านต่างๆ คณะอนุ กก. ขับเคลื่อนการยุติปัญหาเอดส์ ระดับประเทศ สอวพ.+ศบ.จอ.+สปสช.+ภาคประชาสังคม (สอวพ.เป็นเลขาฯ) บริหารการจัดบริการ RRTTR ประสานการสนับสนุนทางวิชาการประสานการจัดการระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ระดับเขต RAC (Regional AIDS Committee): สคร.,รพ,สปสช.เขตเป็นเลขาฯ คณะอนุ กก.ฯ เอดส์จังหวัด หรือ PCM (Provincial Coordinating Mechanism) (สสจ. เป็นเลขาฯ) ระดับจังหวัด หน่วยงานดำเนินการในพื้นที่: โรงพยาบาลเป้าหมาย (รพ.ประจำจังหวัดและรพ.ช.บางแห่ง) ทำงานร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคม ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล

สปสช.โอนเงินแก่รพ.เป้าหมาย วิธีการโอนเงินแก่โรงพยาบาล 1 กรมคร.แจ้งจำนวนเป้าหมายและยอดเงินจัดสรร แก่ สสจ.76 จว. 3 กรมคร. กรมคร.แจ้งพื้นที่เป้าหมายและยอดจัดสรรเงินแก่สปสช. 2 สสจ.คัดเลือกพื้นที่ดำเนินการและแจ้งกลับมาที่กรมคร. สสจ. สปสช. รพ. รพ. รพ. 4 สปสช.โอนเงินแก่รพ.เป้าหมาย