งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
การยุติปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แพทย์หญิงศิริลักษณ์ ไทยเจริญ ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริการป้องกัน การดูแลรักษาเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

2 คาดประมาณสถานการณ์เอชไอวี/เอดส์ประเทศไทย ปี 2560
ผลการคาดประมาณ ประเทศไทย เขตสุขภาพที่ 11 ผู้อยู่ร่วมกับเชื้อฯ ที่มีชีวิตอยู่ (PLHIV) 440,000 คน 27,545 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (HIV New Infections) 5,500 คน 190 ผู้เสียชีวิตจากเอดส์ (AIDS Related Death) 14,700 คน 1,063

3

4 แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามประชากรกลุ่มเสี่ยง ,ประเทศไทย
Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

5 แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดเชื้อฯ , ประเทศไทย
Source: AIDS Epidemic Models by Jan. 2018, Estimation & Projection Working Group

6 สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี ในเขตสุขภาพที่ 11
จำนวน (ราย) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่มีชีวิต เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2560 ที่มา : NAP Web Report ทุกสิทธิ์การรักษา ณ 7 ตุลาคม 2560

7 สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี ในเขตสุขภาพที่ 11 (ต่อ)
จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจเลือด และผลเอชไอวี Positive ในเขตสุขภาพที่ 11 จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดและผลเอชไอวี Positive ในเขตสุขภาพที่ 11 จำแนกรายอายุ จำนวน (ราย) ปีงบ 2560 ระดับประเทศ = 30,366 ราย จำนวน (ราย) อายุ ที่มา : NAP Web Report ทุกสิทธิ์การรักษา ณ 7 ตุลาคม 2560

8 VL <1,000 (CASE) 77%, 84%, 91%, 98% 68%, 70%, 71%, 70% 81%, 82%, 83%, 83%

9 Treatment Cascade By Region 90 2560
104%,79%,86% Region1 87%,74%,87% Region 7 101%,73%,85% Region 2 94%,78%,81% Region 10 106%,77%,87% Region 3 98%,75%,78% Region 4 103%,67%,82% Region 5 108%,69%,84% Region 9 112%,77%,84% Bangkok 86%,56%,76% Region 6 114%,65%,83% Region 11 101%,77%,83% Country Region 12 86%,79%,82%

10 90-90-90 treatment target: Region 11 treatment cascade 2014-2017
(PLHIV registered under government insurances) (CASE) Country 79%, 86%, 94%, 101% 73%, 75%, 77%, 77% 83%, 84%, 84%, 83%

11

12 สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เขตสุขภาพที่ 11
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเขตสุขภาพที่ 11 เปรียบเทียบกับระดับภาคใต้และระดับประเทศ ปี 2551 – 2560 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จำแนกตามกลุ่มอายุ ในเขตสุขภาพที่ 11 ปี2556 – 2560 เมื่อพิจารณาอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย ปี พ.ศ จำแนกรายโรค พบว่า โรคหนองใน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 11.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 15.8 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคซิฟิลิส มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 3.0 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 7.7 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ โรคแผลริมอ่อน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากอัตราป่วย 0.9 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 1.6 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคหนองในเทียม มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย3.4ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น 3.2 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 โรคกามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง มีแนวโน้มลดลง จากอัตราป่วย 1.1 ต่อประชากรแสนคนในปีงบประมาณ 2555 เป็น 0.5 ต่อประชากรแสนคน ในปีงบประมาณ 2560 ที่มา: รายงาน 506 สคร.11 นครศรีธรรมราช ณ มกราคม 2561

13 สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เขตสุขภาพที่ 11
เป้าหมาย ปี 2564 *Syphilis ไม่เกิน 3.5 ต่อแสนประชากร *GC ไม่เกิน 8.0 ต่อแสนประชากร 10.46 8.70 ที่มา: รายงาน 506 สคร.11 นครศรีธรรมราช ณ มกราคม 2561

14

15 เป้าประสงค์และเป้าหมายหลัก ของการยุติปัญหาเอดส์ 2573
2563 เป้าหมาย 2568 2573 ลดการติดเอชไอวีรายใหม่ < 2,000 ราย < 1,200 ราย < 1,000 ราย ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 12,000 ราย < 8,000 ราย < 4,000 ราย ลดการรังเกียจ การเลือกปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับเอดส์และเพศภาวะ ลดลง 50% ลดลง 75% ลดลง 90%

16 ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ 3 เป้าประสงค์ 6 ยุทธศาสตร์ 17 ผลลัพธ์
ลดการติดเชื้อเอชไอวีใหม่ < 1,000 คน/ปี ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ < 4,000 คน/ปี ลดการเลือกปฎิบัติจาก เอดส์ร้อยละ90 1. มุ่งเน้นและเร่งรัดจัดชุดบริการที่มีประสิทธิผลสูงให้ครอบคลุมพื้นที่และประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง 1.1 บริการรอบด้านที่มีประสิทธผลครอบคลุมประชากรหลัก 95% 2. ยกระดับคุณภาพ และบูรณาการงานป้องกันที่มีประสิทธิผลให้เข้มข้นและยั่งยืน 2.1 ไม่มีเด็กเกิดใหม่ติดเชื้อทุกจังหวัด 2.2 ประชาชนรู้เท่าทันและมีพฤติกรรมปลอดภัย 2.3 งานป้องกันเอชไอวีมีคุณภาพและบูรณาการอยู่ในระบบแผนงานปกติ 3. พัฒนาและเร่งรัดการรักษาดูแล และช่วยเหลือทางสังคมให้มีคุณภาพและยั่งยืน 3.1 ผู้ติดเชื้อรู้สถานะ-รักษา-กดไวรัส; 3.2 ผู้ติดเชื้อเข้าถึงดูแลทางสังคม 75 % 3.3 ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตจากวัณโรคลดลง 75% 3.4 ระบบบริการสุขภาพ สังคม ชุมชนมีความเชื่อมโยง 4. ปรับภาพลักษณ์ ความเข้าใจ เสริมสร้างความเข้มแข็งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งกลไกการคุ้มครองสิทธิ 4.1 ประชาชนมีความเข้าใจเอชไอวี สิทธิมนุษยชน และความหลากหลายทางเพศ 4.2 หน่วยงานมีนโยบาย และการดำเนินการที่ส่งเสริมความเข้าใจและไม่มีการเลือกปฏิบัติ 4.3 ผู้ติดเชื้อ ผู้ได้รับผลกระทบตระหนักถึงคุณค่าตนเอง 4.4 ทุกจังหวัดมีกลไกการคุ้มครองสิทธิ 5. เพิ่มความร่วมรับผิดชอบ การลงทุนและประสิทธิภาพการจัดการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ 5.1 จำนวน/สัดส่วนงบประมาณสนับสนุนเอดส์จากพื้นที่และภายในประเทศเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะให้กับชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชน 5.2 จำนวนองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการโดยชุมชน 5.3 ทุกจังหวัดมีแผนงาน การจัดการตามเกณฑ์ 6. ส่งเสริมและพัฒนาการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการวิจัยที่รอบด้านและมีประสิทธิภาพ 6.1 ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผนและบริหารจัดการ 6.2 จำนวนการวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ปรับปรุงการดำเนินงาน

17

18 สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทยและการคัดกรอง TB ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดำเนินงาน HIV-TB จำนวนผู้ป่วยสูงติดอันดับที่ 19 ในTop 22 ของโลก อัตราป่วยยังสูง สูงกว่าประเทศพัฒนาแล้ว 30 เท่า อัตราตายระหว่างรักษา 7% (ทุก 15 คน มีเสียชีวิต 1 คน) และในกลุ่ม TB/HIV อัตราตาย 13-14% (ทุก 7 คน มีเสียชีวิต 1 คน) คาดประมาณป่วยวัณโรค 120,000 รายต่อปี ขึ้นทะเบียนรักษา 80,000 รายต่อปี AEC เพิ่มโอกาสการระบาดของวัณโรคสูงขึ้น 1. แนวทางการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี 2. มีแนวทางการคัดกรองวัณโรคแฝง และให้ยารักษาวัณโรคแฝงด้วยยา INH 9 เดือนในผู้ติดเชื้อเอชไอวี - ปี 2561 นำร่อง IPT ในจังหวัด GF

19 ระบบปกติ การคัดกรองตามมาตรการเร่งรัดยุติปัญหาวัณโรค
การคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2560 สรุปจากการประชุม การบริหารจัดการเชิงนโยบายเร่งรัดการดำเนินงาน เพื่อยุติปัญหาวัณโรคและเอดส์ ครั้งที่ 2/2560 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่า ระบบปกติ การคัดกรองตามมาตรการเร่งรัดยุติปัญหาวัณโรค verbal screening เป้าหมาย 100 % CXR ทุกราย เป้าหมาย 100 % คัดกรอง พบ 1 ใน 4 ข้อคำถาม ไอผิดปกติ ไข้ น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน ไม่เป็น TB ไม่มีอาการสงสัย เป็น TB รักษา TB ทำ TST เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายเก่ารายและรายใหม่ทุกรายได้รับการคัดกรองด้วย CXR CXR เป็น LTBI ไม่เป็น LTBI เป็น TB ไม่เป็น TB รักษา LTBI เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา รักษา TB เฝ้าระวังต่อ ซักประวัติทุกครั้งที่มารับยา

20 95 %

21 Together we will END AIDS STI and TB


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google