งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC) สำหรับการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

2 มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC)

3 ความเป็นมา การดำเนิน การของภาครัฐยังคงเป็น บทบาทหลักในการพัฒนา ระบบการให้บริการ ช่องว่างระหว่างชุมชนไปสู่โรงพยาบาล เป็นบทบาท ของภาครัฐและภาคประชาสังคมจึงจัดทำมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (DIC : Drop in Center) เพื่อให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการ ได้รับความสะดวกรวดเร็ว เป็นกันเอง เบ็ดเสร็จลดขั้นตอน ได้รับทั้งความรู้ อุปกรณ์การป้องกัน เชื่อมโยงระบบการป้องกัน เข้าสู่การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการรักษา

4 วัตถุประสงค์ของมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน
เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงาน เครื่องมือประเมินและพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับการให้บริการในศูนย์บริการชุมชนให้ได้ตามมาตรฐาน เพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในระดับประเทศต่อไป

5 กลุ่มเป้าหมายหลัก - องค์กรหรือหน่วยงานที่จัดบริการสุขภาพ - ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย - สาวประเภทสอง - พนักงานบริการชาย - พนักงานบริการหญิง - ผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด - ประชากรข้ามชาติ

6 องค์ประกอบมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน
ด้านสถานที่ ด้านบริหารจัดการ ด้านบริการ ด้านการติดตามประเมินผล

7 กลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก
การพัฒนา DICs 9 แห่ง ให้ได้ตามมาตรฐาน และการประเมินรับรอง DICs ใน 6 จังหวัด จังหวัด กลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก หน่วยงาน กรุงเทพมหานคร MSM RSAT FSW/MSW SWING เชียงใหม่ CAREMAT MIGRANT MAP สงขลา นครศรีธรรมราช PRISONER DOC

8 กลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก
การพัฒนา DICs 9 แห่ง ให้ได้ตามมาตรฐาน และการประเมินรับรอง DICs ใน 6 จังหวัด จังหวัด กลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก หน่วยงาน ระยอง MIGRANT FAR PRISONER DOC สมุทรสาคร RTF

9 คำจำกัดความและนิยามศัพท์

10 ศูนย์บริการชุมชน DIC : Drop in Center
หมายถึง สถานที่ที่จัดขึ้นเพื่อให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมีความสะดวก ความปลอดภัย ง่ายต่อการเข้าถึง มีระบบการบริหารจัดการเพื่อการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย มีบริการป้องกันและเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค รวมถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพขั้นพื้นฐาน การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นทั้งทางตรงและทางอ้อม อีกทั้งเป็นศูนย์กลางเชื่อมประสาน ระหว่างกลุ่มเป้าหมาย ชุมชน และระบบบริการ ของรัฐ

11 มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC) สำหรับการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค ประกอบด้วย 1. มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC) 2. มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน ในเรือนจำ (Drop in Center : Prisons)

12 มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC)

13 ด้านสถานที่ (25 คะแนน)

14 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน ช่วงเตรียมการ (10 คะแนน) มีความสะดวกในการเดินทางและปลอดภัยในการเข้าใช้บริการสะดวกในการเดินทาง หมายความว่า ตั้งอยู่ศูนย์กลางของชุมชนหรือมีการคมนาคมที่สะดวกปลอดภัยในการเข้าใช้บริการ หมายความว่า กลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มสามารถเข้าใช้บริการได้สะดวกใจ 0 = ไม่สะดวกในการเดินทางและ ไม่ปลอดภัยในการเข้าใช้บริการ 1 = สะดวกในการเดินทาง 2 = สะดวกในการเดินทางและปลอดภัยในการเข้ารับบริการ สัมภาษณ์ ผู้ให้บริการ ศูนย์บริการชุมชนตั้งอยู่ในบริเวณจุดรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย (5 คะแนน) มีการคัดเลือกจาก จุดศูนย์กลางของ ชุมชนที่ กลุ่มเป้าหมายอยู่ และ/หรือ กลุ่มเป้าหมาย สะดวกในการรับ บริการ (2 คะแนน)

15 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน การทำแผนที่ชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย เป็นการศึกษาเรียนรู้ทำความรู้จักกับชุมชน และกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ว่ามีลักษณะอย่างไร กลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการทำงานด้วยเป็นใคร เป็นกลุ่มเป้าหมายประเภทใด จำนวนเท่าไร อยู่ที่ไหน มีลักษณะอย่างไร มีส่วนประกอบอื่นใด ในพื้นที่หรือชุมชนที่มีผลต่อการทำงาน เช่น หน่วยบริการหรือหน่วยสนับสนุนงานอื่นๆ 0 = ไม่มีการจัดทำ Mapping 1 = อยู่ระหว่างการจัดทำแผน Mapping 2 = อยู่ระหว่าง ดำเนินการลง พื้นที่ สำรวจ Mapping 3 = มีการจัดทำ Mapping เสร็จเรียบร้อยแล้ว 1.ทบทวนเอกสาร เช่น เอกสารการประชุม 2. มีแผนที่ในการจัดทำ Mapping 3. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ มีการทำ Mapping กลุ่มเป้าหมาย ชุมชน สถานบริการและเครือข่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (3 คะแนน)

16 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน มีเอกสารที่แสดงถึงความร่วมมือหรือการรับทราบถึงรูปแบบการให้บริการ ภารกิจ และแผนการทำงานของศูนย์บริการชุมชนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานผู้ดูแลในพื้นที่ หรืออาจมีการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการ/คณะทำงาน (5 คะแนน) การจัดทำเอกสารหรือหนังสือที่เก็บบันทึกข้อตกลงความเข้าใจที่ตรงกัน รับทราบถึงรูปแบบการให้บริการ, ภารกิจ และแผนการทำงานของศูนย์บริการชุมชน จะมีผลผูกพันทั้ง 2 ฝ่าย 0 = ไม่มีเอกสารที่แสดงถึงความร่วมมือ 3 = อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารที่แสดงถึงความร่วมมือ 5 = มีเอกสารที่แสดง ถึงความร่วมมือ 1.ทบทวนเอกสาร เช่น หนังสือแสดงถึง ความร่วมมือ MOU เอกสารแจ้งให้ทราบ และขอความร่วมมือ 2.สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ ความร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ (5 คะแนน)

17 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน ช่วงดำเนินการ (15 คะแนน) ผู้รับบริการมีความสะดวกในการเดินทางเข้ารับบริการ และระยะทางไม่ไกลจากชุมชน 0 = เดินทางลำบาก และมี ระยะทางไกลจากชุมชน 3 = มีความสะดวกใน การเดินทางและมี ระยะทางไกลหรือ ใกล้จากชุมชนแต่ไม่ สะดวกในการ เดินทาง 5 = มีความสะดวกใน ระยะทางไม่ไกลจาก ชุมชน 1. สัมภาษณ์ผู้รับบริการ 2. แบบประเมินความพึงพอใจ ความสะดวกในการเข้ารับบริการจากศูนย์บริการชุมชน (5 คะแนน) มีความสะดวกในการเดินทางในการเข้ารับบริการ (5 คะแนน)

18 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 1. มีพื้นที่ผ่อนคลายหรือ มุมพักผ่อนให้ความรู้สึก อบอุ่น มีบรรยากาศที่เป็น มิตรในการให้บริการ ต่างๆ (2 คะแนน) มีการจัดพื้นที่การให้บริการเพื่อกระตุ้นและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้เข้ามารับบริการและจัดให้เป็นพื้นที่ผ่อนคลายมีมุมพักผ่อนให้ความรู้สึกอบอุ่น มีบรรยากาศที่เป็นมิตร ในการให้บริการต่างๆของศูนย์บริการชุมชน 0 = ไม่มี 2 = มี 1.สัมภาษณ์จาก ผู้รับบริการ 2. การสังเกต สภาพแวดล้อมภายใน ศูนย์บริการชุมชน สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ดึงดูดและกระตุ้นความสนใจของผู้รับบริการ (10 คะแนน)

19 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 2. มีพื้นที่ที่สะอาด เป็นสัดส่วน ไม่แออัด เพียงพอสำหรับการ ให้บริการ (6 คะแนน) 1. มีพื้นที่สะอาด มีสถานที่ให้บริการที่เป็นสัดส่วน ไม่แออัดเพียงพอสำหรับการให้บริการ 2. มีพื้นที่สำหรับให้กลุ่มเป้าหมายได้รวมตัวเพื่อดำเนินกิจกรรมในการให้ความรู้และให้คำปรึกษาเบื้องต้นหรือสันทนาการ 3. มีพื้นที่สำหรับรอรับบริการ เช่น ให้บริการคำปรึกษาและให้บริการตรวจวินิจฉัยหาการติดเชื้อเอชไอวีแยกเป็นสัดส่วนเพื่อความเป็นส่วนตัวของผู้รับบริการ 0 = ไม่มี 3 = มีบางส่วน 6 = มีครบทุกข้อ 1. สัมภาษณ์ผู้ใช้บริการ 2. สัมภาษณ์ ผู้ให้บริการ 3. ผู้ประเมินสังเกต สภาพแวดล้อมภายใน ศูนย์บริการชุมชน

20 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 3. มีการจัดบริการ ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันโรคและดูแล รักษาเบื้องต้น(2 คะแนน) มีการจัดพื้นที่บริการส่งเสริมสุขภาพเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และดูแลรักษาเบื้องต้น เช่น มีบริการยาสามัญประจำบ้าน มีอุปกรณ์การแพทย์ ขั้นพื้นฐาน เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดความดันโลหิต เทอร์โมมิเตอร์ เป็นต้น 0 = ไม่มี 2 = มี 1. สัมภาษณ์ผู้ใช้บริการ 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 3. ผู้ประเมินสังเกต สภาพแวดล้อมภายใน ศูนย์บริการชุมชน

21

22 ด้านบริหารจัดการ (25 คะแนน)

23 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน ด้านบุคลากร (10 คะแนน) 1. มีผังโครงสร้าง บุคลากร (2 คะแนน) มีผังโครงสร้างบุคลากรว่าบุคคลใดรับผิดชอบงานใดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน (Job description) 0 = ไม่มี 2 = มี ประเมินจากเอกสารหรือผังโครงสร้างบุคลากร และบทบาทหน้าที่ 2. มีการถ่ายทอดนโยบาย RRTTR สู่ผู้ปฏิบัติงาน (2 คะแนน) มีกระบวนการถ่ายทอด เช่น รายงานการประชุม หนังสือเวียนผ่านการสอนงานหรืออบรม ตามยุทธศาสตร์ RRTTR เอกสารรายงาน การประชุม หนังสือเวียน หรือเอกสารการสอนงาน/อบรม ผู้ให้บริการที่รับผิดชอบได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสมและได้รับการอบรมต่อเนื่องเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจทักษะการให้บริการที่เป็นมิตรและมีทักษะการให้การปรึกษาและมีทัศนคติที่ปราศจากอคติและการเลือกปฏิบัติต่อผู้มารับบริการ (10 คะแนน)

24 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 3. มีคู่มือ/มาตรฐาน ปฏิบัติงาน (2 คะแนน) มีแนวทางหรือคู่มือ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) จำเป็นต้องมีเรื่องการตรวจวินิจฉัยหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว(SDR) มีการบริหารจัดการความเสี่ยง เรื่องการป้องกันอันตรายเมื่อผู้รับบริการไม่ยอมรับผลเลือด แนวทางการให้บริการเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย 0 = ไม่มี 2 = มี 1. ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2. สอบถามความรู้ผู้ให้บริการ ผู้ที่ทำหน้าที่ให้ คำปรึกษาผ่านการอบรม การให้คำปรึกษาเบื้องต้น HTCและ/หรือส่วนอื่นที่ เกี่ยวข้องทักษะการสื่อสาร ด้านสุขภาพ (1 คะแนน) มีทักษะในการให้คำปรึกษาเบื้องต้น HTC (HIV Testing and Counseling) 1 = มี 1. สอบถามความรู้ผู้ให้บริการ 2. มีหลักฐานแสดงการผ่าน การอบรมการให้คำปรึกษา เบื้องต้น

25 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 5. มีความรู้เรื่อง เอชไอวี/ เอดส์ โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ และวัณโรค เบื้องต้น มีการติดตามข้อมูล ความรู้ด้านสุขภาพที่ทันต่อ เหตุการณ์อย่างสม่ำเสมอ (1 คะแนน) มีประสบการณ์และความรู้ที่ทันสมัยเรื่อง เอชไอวี/เอดส์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค 0 = ไม่มี 1 = มี 1. สอบถามความรู้ผู้ให้บริการ 2. มีหลักฐานแสดงการผ่าน การอบรมเรื่อง เอชไอวี/ เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค 6. มีทักษะในการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2 คะแนน) มีความรู้และความเข้าใจในเรื่อง เอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค เพื่อการสื่อสารให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการที่เป็นมิตร 2 = มี 1.สอบถามความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ 2. ผู้ประเมินสังเกต ผู้ให้บริการ

26 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน ด้านเวชภัณฑ์ (10 คะแนน) 1.มีทะเบียนคุมยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (2 คะแนน) 0 = ไม่มี 1 = มี 1. ทบทวนเอกสาร เช่น ทะเบียนควบคุมยาและ 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 2. มีระบบการเฝ้าระวังยา และเวชภัณฑ์หมดอายุ มีระบบการเฝ้าระวังยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาหมดอายุ (First in First Out) 2 = มี ทะเบียนควบคุม Stock 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ มีทะเบียนเบิก–จ่าย การสนับสนุนอุปกรณ์ ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี มีทะเบียนเบิก-จ่าย การสนับสนุนอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี เช่น ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น เข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด เป็นต้น ทะเบียนเบิก-จ่าย 2. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ ศูนย์บริการชุมชน มาตรฐานการจัดเก็บยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (4 คะแนน) มีทะเบียนคุมยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา การควบคุมคุณภาพและ มีพื้นที่จัดเก็บอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี เช่น ถุงยางอนามัยและ สารหล่อลื่น เข็มและกระบอกฉีดยาอย่างเหมาะสมตามมาตรฐาน (2 คะแนน)

27 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 1. มีทะเบียนเบิกจ่าย ชุดตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ เอชไอวีแบบทราบผลใน วันเดียว (SDR) (2 คะแนน) มีการจัดทำทะเบียนเบิกจ่ายชุดตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว (SDR) 0 = ไม่มี 2 = มี 1. ทบทวนเอกสาร เช่น ทะเบียนเบิก-จ่าย 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 2. มีทะเบียนควบคุม คุณภาพชุดตรวจวินิจฉัย การติดเชื้อเอชไอวีแบบ ทราบผลในวันเดียว (SDR) (2 คะแนน) มีการจัดทำทะเบียนควบคุมคุณภาพชุดตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลใน วันเดียว (SDR) ทะเบียนควบคุมคุณภาพ 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ มาตรฐานการจัดเก็บชุดตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ เอชไอวีแบบทราบผลใน วันเดียว (SDR) (4คะแนน)

28 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน ด้านข้อมูลบริการ (5 คะแนน) 1.มีทะเบียนบันทึกการรับ บริการของกลุ่มเป้าหมายที่ ครอบคลุมและสามารถ ตรวจสอบได้ (2 คะแนน) 0 = ไม่มีการบันทึก 1 = มีแต่ไม่ได้แยก กลุ่มเป้าหมาย 2 = มีการบันทึกและแยกกลุ่มเป้าหมาย 1.ทบทวนเอกสาร เช่น ทะเบียนบันทึกการเข้า รับบริการของ กลุ่มเป้าหมาย 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 2. มีระบบการจัดการข้อมูล (3 คะแนน) มีเอกสารวิชาการสำหรับเจ้าหน้าที่ ในการสืบค้น หรือการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากล มีเอกสารให้ความรู้แก่ผู้รับบริการ 0 = ไม่มีระบบข้อมูล 1 = มีการจัดเก็บข้อมูล 2 = มีการวิเคราะห์ 3 = มีการคืนข้อมูล ให้กับหน่วยงาน ระดับบน/ล่าง และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เอกสารวิชาการต่างๆ 2. ผู้ประเมินสังเกต สภาพแวดล้อมภายใน ศูนย์บริการชุมชน การจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบรวมทั้งมีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์และใช้ให้เกิดประโยชน์รวมถึงคืนข้อมูลให้กับหน่วยงานระดับบน/ล่าง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5 คะแนน) มีทะเบียนบันทึกการรับบริการของกลุ่มเป้าหมายที่ครอบคลุมและสามารถตรวจสอบได้

29

30 ด้านระบบบริการ (30 คะแนน)

31 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 1. มีกิจกรรมการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย (1 คะแนน) มีกิจกรรมการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น เสียงตามสาย แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการเข้าถึงบริการ โดยแจ้งวัน เวลาและสถานที่ ของบริการอย่างชัดเจน 0 = ไม่มี 1 = มี 1. สอบถามจากผู้รับบริการ 2. ผู้ประเมินสังเกต สภาพแวดล้อมภายใน ศูนย์บริการชุมชน 3. สอบถามจากผู้ให้บริการ 2. มีการดำเนินงานตาม กิจกรรมที่กำหนดไว้ (1 คะแนน) หลังจากมีการจัดกิจกรรมแล้ว จะต้องกลับมาดำเนินงานต่อตามแผนกิจกรรม 1. หลักฐานแสดงแผนงาน ตามกิจกรรม 2. สอบถามจากผู้ให้บริการ มีแผนผังแนะนำขั้นตอน การรับและให้บริการตั้งแต่การเข้ารับบริการจนถึงการรักษา (1 คะแนน) มีแผนผังแนะนำขั้นตอนการรับและให้บริการตั้งแต่การเข้ารับบริการจนถึงการรักษาเพื่อความสะดวกและต่อเนื่องในการรับบริการ แผนผังขั้นตอนการรับบริการและ การให้บริการ 1. การสร้างความต้องการในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย (Demand creation) (2 คะแนน) 2. การแนะนำบริการ (1 คะแนน)

32 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน มีตารางการปฏิบัติงานและการจัดเวรเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบหลักในการทำงานประจำหรือชั่วคราว (2 คะแนน) มีตารางการปฏิบัติงานและ การจัดเวรเจ้าหน้าที่ในการทำงานประจำหรือชั่วคราวเพื่อความสะดวกในการรับบริการ ** รพ.สต. ให้กำหนดวัน เวลา จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่สามารถให้บริการ HTC ได้เปิดให้บริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 0 = ไม่มี 2 = มี 1. เอกสารที่แสดงถึง การจัดเวรเจ้าหน้าที่อย่าง เป็นลายลักษณ์อักษร 2. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ ศูนย์บริการชุมชน มีป้าย และ/หรือตารางแสดงเวลาให้บริการ (1 คะแนน) มีป้ายแสดงเวลาให้บริการ กำหนดเวลาในการเปิด-ปิด และมีป้ายแสดงที่ชัดเจน 1 = มี มีป้าย และ/หรือตารางแสดงเวลาให้บริการ 3. การมอบหมายหน้าที่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ (2 คะแนน) 4. การกำหนดเวลาในการเปิด-ปิด และมีป้ายแสดงที่ชัดเจนสอดคล้องกับเวลาที่กลุ่มเป้าหมายสะดวกต่อการเข้ารับบริการ

33 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน มีป้ายแสดงข้อตกลงใน การรับบริการ (1 คะแนน) มีการกำหนดข้อปฏิบัติและกติกาในการรับบริการ เช่น ห้ามเล่นการพนัน ห้ามสูบบุหรี่ เป็นต้น 0 = ไม่มี 1 = มี มีป้ายแสดงข้อตกลงในการรับบริการ มีโปรแกรมที่มีรหัสผ่านหรือระบบรักษาความลับโดยมีระดับการเข้าถึงข้อมูล (2 คะแนน) มีโปรแกรมที่มีรหัสผ่านหรือระบบรักษาความลับโดยมีระดับการเข้าถึงข้อมูล เช่น รหัสใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือรหัสผ่านเข้าโปรแกรมต่างๆ มีระบบและวิธีการเก็บบันทึกข้อมูลบริการอย่างเป็นความลับ 2 = มี มีโปรแกรมที่มีรหัสผ่านหรือระบบรักษาความลับ 5. การกำหนดข้อตกลงใน การรับบริการเพื่อ ความปลอดภัย (1คะแนน) 6. ระบบรักษาความลับในการให้บริการของกลุ่มเป้าหมาย (2คะแนน)

34 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน มีแบบคัดกรองและ/หรือ แบบบันทึกการส่งต่อ (ใบ refer) (2 คะแนน) มีแบบคัดกรองและ/หรือ แบบบันทึกการส่งต่อ (ใบ refer) 0 = ไม่มี 1 = มีแบบคัดกรอง และ/หรือบันทึก การส่งต่อแต่ไม่มีผล ส่งกลับ 2 = มีแบบคัดกรองและ/หรือแบบบันทึกการส่งต่อและมีผลส่งกลับ (refer back) ทบทวนเอกสาร เช่น สมุดบันทึก แบบคัดกรองแบบบันทึก การส่งต่อ และมีผลส่งกลับ (refer back) มีบริการการให้ คำปรึกษาเพื่อประเมิน พฤติกรรมเสี่ยง (1 คะแนน) มีบริการการให้คำปรึกษาเพื่อประเมินพฤติกรรมเสี่ยง 1 = มี ทบทวนเอกสาร เช่น แบบประเมินพฤติกรรม เสี่ยง 2. สัมภาษณ์ผู้รับบริการ 3. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 7. ระบบคัดกรองและระบบส่งต่อเรื่องสุขภาพ เอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค ไปรับบริการในโรงพยาบาล และในกรณีฉุกเฉินมีแผน การส่งต่อผู้รับบริการที่ ชัดเจน (2 คะแนน) 8. การบริการที่ต้องจัดให้มีในศูนย์บริการชุมชน (19 คะแนน)

35 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 2. มีบริการตรวจวินิจฉัยหา การติดเชื้อเอชไอวีแบบ ทราบผลในวันเดียว(SDR) (5 คะแนน) มีบริการตรวจวินิจฉัยหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลใน วันเดียว (SDR) 0 = ไม่มี 1 = มีแผนการ ดำเนินงาน 2 = มีแผนและปฏิทินการดำเนินงานที่ชัดเจน 3 = มีความพร้อมในการดำเนินงาน 5 = มีบริการตรวจวินิจฉัยหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว (SDR) มีบริการตรวจวินิจฉัยหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว (SDR) 3. มีการสนับสนุนสิ่งที่ จำเป็นในการป้องกันการติด เชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ (1 คะแนน) มีการสนับสนุนสิ่งที่จำเป็นในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น เข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด 0 = ไม่มี 1 = มี มีอุปกรณ์ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

36 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 4. มีกิจกรรมให้ความรู้ เฝ้าระวังป้องกัน ควบคุม โรคเอดส์ โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ วัณโรค และโรคอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (1 คะแนน) มีหลักฐานการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัณโรค และโรคอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การป้องกันโรคต่างๆ เช่น ตารางแสดงการจัดกิจกรรมบอร์ดให้ความรู้ ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม สื่อให้ความรู้ 0 = ไม่มี 1 = มี มีหลักฐานการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วัณโรค และโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การป้องกัน โรคต่างๆ เช่น ตารางแสดงการจัดกิจกรรมบอร์ด ให้ความรู้ ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม สื่อให้ความรู้ 5. มีกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สร้างแรงจูงใจ เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายเข้ามาใช้ บริการ (1 คะแนน) มีกิจกรรมประชาสัมพันธ์สร้างแรงจูงใจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้ามาใช้บริการ มีหลักฐานกิจกรรมประชาสัมพันธ์สร้างแรงจูงใจเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้ามาใช้บริการ เช่น ภาพถ่าย สื่อแผ่นพับแนะนำโครงการ เป็นต้น

37 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 6. มีช่องทางในการสื่อสาร กับกลุ่มเป้าหมายโดยวิธี ต่างๆ (1 คะแนน) มีช่องทางในการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายโดยวิธีต่างๆ เช่น สื่อบุคคล (เช่น อสม. แกนนำ) สื่อสังคมออนไลน์ (social media) เป็นต้น มาประยุกต์ ใช้ในการทำงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 0 = ไม่มี 1 = มี สอบถามจากผู้รับบริการ มีกิจกรรมรณรงค์สู่ สาธารณะ (1 คะแนน) มีกิจกรรมรณรงค์สู่สาธารณะ เช่น กิจกรรมต่างๆ ของเจ้าหน้าที่ให้บริการเชิงรุก (outreach worker) เอกสารหลักฐาน เช่น ภาพถ่าย เป็นต้น มีแผนกิจกรรม การออกหน่วยบริการ เคลื่อนที่(mobile Service) ร่วมกับหน่วยบริการ (2 คะแนน) 2 = มี 1. แบบบันทึกบริการ (Log book ) 2. แผนกิจกรรมการออก หน่วยบริการเคลื่อนที่ (mobile service) มีแผนกิจกรรมการออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (mobile Service)ร่วมกับหน่วยบริการมีการวางแผนล่วงหน้าที่ชัดเจน

38 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 9. มีบริการดูแลช่วยเหลือ ด้านจิตใจ สังคม และอื่นๆ (1 คะแนน) มีบริการดูแลช่วยเหลือด้านจิตใจสังคม และอื่นๆ เช่น มีการส่งต่อหน่วยงานอื่นมีการแนะนำหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น 0 = ไม่มี 1 = มี สัมภาษณ์ผู้รับหรือ ผู้ให้บริการ 10. มีระบบการติดตามผู้รับบริการที่มารับบริการศูนย์บริการชุมชนและ ผู้รับบริการที่ส่งต่อไปรับบริการและรักษาอย่างต่อเนื่องเป็นลายลักษณ์ อักษร (5 คะแนน) มีระบบการติดตามผู้มารับบริการที่มารับบริการที่ศูนย์บริการชุมชนและผู้รับบริการที่ส่งต่อไปรับบริการตรวจเลือดและรักษาต่ออย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น กำหนดผู้รับผิดชอบ แบบบันทึกการส่งต่อ (ใบ refer) ข้อมูลผลการดำเนินงาน แผนการติดตามเยี่ยมบ้าน เป็นต้น 0 = ไม่มี 3 = มีระบบการติดตามแต่ไม่มีหลักฐานแสดงเป็นลายลักษณ์อักษร 5 = มีระบบการติดตามและมีหลักฐานแสดงเป็นลายลักษณ์อักษร 1. สัมภาษณ์ผู้รับบริการ 2. สัมภาษณ์ผู้ให้บริการ 3. เอกสารการรับบริการที่ ส่งต่อรับบริการและรักษาอย่างต่อเนื่องเป็น ลายลักษณ์อักษร

39

40 ด้านการติดตามประเมินผล (20 คะแนน)

41 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน การประชุมเพื่อ ติดตามความก้าวหน้าของ ผู้รับผิดชอบงานอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง (2 คะแนน) มีการประชุมและสรุปผลการประชุม 0 = ไม่มี 1 = มีการประชุมแต่ไม่ มีการสรุปรายงานการ ประชุม 2 = มีการประชุมและมี การสรุปรายงานการ สรุปรายงานการประชุม 2. มีการประเมิน ความพึงพอใจของ การรับบริการ (4 คะแนน) มีการประเมินและสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของการรับบริการ 2 =มีการประเมินความ พึงพอใจ 4 = มีการประเมินและสรุปผลการประเมิน ความพึงพอใจและปรับปรุงบริการตาม ข้อค้นพบจากการประเมิน 1. แบบประเมินความ พึงพอใจ 2. สรุปรายงานการประชุม การแก้ไขปรับปรุงบริการ ตามข้อค้นพบ การควบคุม กำกับ ติดตามและประเมินผล (20 คะแนน)

42 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 3. มีการจัดทำสถิติจำนวน ผู้รับบริการเป็นรายเดือน/ รายไตรมาส/รายปี เพื่อเป็น ข้อมูลในการพัฒนาระบบ บริการ (4 คะแนน) มีระบบการสำรวจจำนวนผู้รับบริการของกลุ่มเป้าหมายเป็นรายเดือน/รายไตรมาส/รายปี เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาระบบบริการ 0 = ไม่มี 4 = มี ข้อมูลจำนวนผู้มารับบริการรายเดือน/ รายไตรมาส/รายปี มีรายงานการดำเนิน กิจกรรมต่างๆ ตามระบบ การรายงาน (6 คะแนน) มีรายงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆรวมทั้งข้อค้นพบที่ได้จากการประเมินผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ระบบรายงาน RIHIS Real Time Monitoring ทะเบียนข้อมูลบันทึกกลุ่มเป้าหมาย) 3 = ไม่มีหลักฐานแสดง แต่มีการส่งข้อมูลให้ หน่วยงานต้นสังกัด 6 = มีหลักฐานแสดง 1. RIHIS 2. Real Time Monitoring 3. ทะเบียนข้อมูลบันทึก กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ ความรู้

43 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน
มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน คำอธิบาย เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน วิธีการประเมิน 5. มีแผนพัฒนาการ ดำเนินงานในปีถัดไป (4 คะแนน) มีการวางแผนและจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายเพื่อพัฒนาศูนย์บริการชุมชน 0 = ไม่มี 2= มีการวางแผนเฉพาะหน่วยงานของตนเอง 4 = มีการวางแผนและจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคี เครือข่าย 1. สรุปรายงานการประชุม 2. แผนการดำเนินงานใน ปีถัดไป

44

45 แนวทางการประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC)
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

46 เป้าหมายของการใช้มาตรฐานศูนย์บริการชุมชน
เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานศูนย์บริการชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด และใช้ประเมินเพื่อหาโอกาสพัฒนา แนวทางการประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน ผู้ประเมินจากหน่วยงานสาธารณสุข 3-5 คน จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลภาครัฐ และองค์กรภาคประชาสังคม โดยผู้ประเมินต้องผ่าน การอบรมการประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน

47 ความถี่ในการประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน
ประเมินทุก 1 ปี สำหรับศูนย์บริการชุมชนที่ยังไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ประเมินทุก 2 ปี สำหรับศูนย์บริการชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน การรับรองมาตรฐาน สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ออกใบประกาศนียบัตรรับรองเป็นระยะเวลา 2 ปี

48 ระดับการพัฒนา คะแนน ระดับ 90 – 100 เพชร (Diamond) 70 - 89 ทอง (Gold)
50 – 69 เงิน (Silver) < 50 ควรปรับปรุง (Fair)

49 การมอบรางวัล ระดับ เพชร (Diamond) ได้รับโล่ และใบประกาศนียบัตร
ระดับ ทอง (Gold) ได้รับใบประกาศนียบัตร

50 เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนตามรายละเอียดหัวข้อการประเมินที่ตรวจพบ โดยใส่คะแนนตามรายหัวข้อ และสรุปคะแนนที่ได้รวมถึงประเด็นที่ตรวจพบ

51 วิธีการตรวจประเมิน ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
สังเกตสถานที่ สิ่งแวดล้อม ระบบการให้บริการสุขภาพ ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง แบบประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน

52 การรายงานผลการประเมินศูนย์บริการชุมชน
ทีมผู้ตรวจประเมิน ทำการประชุม เพื่อสรุปการให้คะแนน ประเด็นที่ตรวจพบ ระดับการพัฒนา และประเด็นที่ต้อง พัฒนา/ปรับปรุง พร้อมข้อเสนอแนะ ฉบับสมบูรณ์ส่งให้กับ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

53 จำนวนหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน
ประกอบด้วย ภาคประชาสังคม จำนวน 8 แห่ง เรือนจำ/ทัณฑสถาน จำนวน 2 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพฯ จำนวน 4 แห่ง รพ.สต./ศูนย์สุขภาพชุมชน จำนวน 29 แห่ง

54 ผลการประเมิน ระดับเพชร (90-100) : 17 หน่วยงาน
ระดับทอง (70-89) : 21 หน่วยงาน ระดับเงิน (50-69) : 4 หน่วยงาน ควรปรับปรุง (<50) : 1 หน่วยงาน ประกอบด้วยหน่วยงานดังต่อไปนี้

55 หน่วยงานที่รับการประเมิน (1/3)
ลำดับ หน่วยงาน จังหวัด ระดับเพชร 1 องค์กรแคร์แมท (ศูนย์สุขภาพแคร์แมท) เชียงใหม่ 2 มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ (MAP) 3 มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ (SWING) กรุงเทพมหานคร 4 มูลนิธิเอ็มพลัส 5 สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย สงขลา 6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางชนะ สุราษฎร์ธานี 7 8 มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ระยอง 9 เรือนจำกลางระยอง 10 เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 11 ศูนย์บริการสาธารณสุข 4 ดินแดง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 12 ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 13 ศูนย์บริการสาธารณสุข 28 กรุงธนบุรี สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 14 ศูนย์บริการสาธารณสุข 25 ห้วยขวาง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 15 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีเจริญ และ การศึกษานอกโรงเรียนตำบลอ้อมกอ อุดรธานี 16 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ภูเก็ต 17 ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมืองท่าวังหิน อุบลราชธานี

56 หน่วยงานที่รับการประเมิน (2/3)
ระดับทอง 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลานสกา นครศรีธรรมราช 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางโทรัด สมุทรสาคร 3 ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลกำแพง สตูล 4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกำพร้า 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติคีรี เชียงราย 6 ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองระนอง ระนอง 7 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท้ายวัง ตราด 8 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดพระญาติการาม พระนครศรีอยุธยา 9 คลินิกบ้านเพื่อน นครราชสีมา 10 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละมอ ตรัง 11 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาระมาวี ปัตตานี 12 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ยะลา 13 โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลหลักร้อย 14 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสมเด็จย่า ปทุมธานี 15 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคำหวัน ตาก 16 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันทราย เชียงใหม่ 17 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจระเข้ ขอนแก่น 18 ศูนย์บริการชุมชนประชากรข้ามชาติ 19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบมอน 20 คลินิกชุมชนอบอุ่น สงขลา 21 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเนินพระ ระยอง

57 หน่วยงานที่รับการประเมิน (3/3)
ระดับเงิน 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแรต ราชบุรี 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน นราธิวาส 3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองใหม่บางพลี สมุทรปราการ 4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี ระดับปรับปรุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าทราย นนทบุรี

58 การประเมินมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center : DIC) มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการชายและหญิง วันที่ 8 มกราคม 2559

59 เรือนจำกลางระยอง จังหวัดระยอง วันที่ 11 มกราคม 2559
เรือนจำกลางระยอง จังหวัดระยอง วันที่ 11 มกราคม 2559

60 มูลนิธิคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ จังหวัดระยอง วันที่ 12 มกราคม 2559
มูลนิธิคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ จังหวัดระยอง วันที่ 12 มกราคม 2559

61 สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร วันที่ 13 มกราคม 2559
สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร วันที่ 13 มกราคม 2559

62 เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 15 มกราคม 2559
เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 15 มกราคม 2559

63 มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธ์ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 21 มกราคม 2559

64 องค์กรแคร์แมท จังหวัดเชียงใหม่ 22 มกราคม 2559

65 ศูนย์บริการชุมชนประชากรข้ามชาติ จังหวัดสมุทรสาคร วันที่ 26 มกราคม 2559
ศูนย์บริการชุมชนประชากรข้ามชาติ จังหวัดสมุทรสาคร วันที่ 26 มกราคม 2559

66 สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย จังหวัดสงขลา วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559
สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย จังหวัดสงขลา วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559

67 งานสัมมนาระดับชาติฯ ครั้งที่ 15

68

69 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google