งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR

2 Estimated number of adults living with HIV, new HIV infections and cumulative HIV cases in Thailand 1,294,077 1,201,839 426,707 1,295, ,034 6,053 297,879 7,324 6,139 Source: Summary Result Projection for HIV/AIDS in Thailand by Thailand Working Group on HIV/AIDS Projection

3 Percentage of new adult infections by modes of transmission
% new infections from each transmission route 1988 1995 2000 2005 2010 2015 2020 2025 2030 Husband to wife 1 35 49 40 27 18 13 10 14 Wife to husband 3 8 11 9 6 Male-male sex 20 47 54 59 55 Needle sharing 7 15 Sex Work 50 42 19 17 5 Casual sex 4 2 Total 100 Source: Summary Result Projection for HIV/AIDS in Thailand by Thailand Working Group on HIV/AIDS Projection

4 อัตราการติดเชื้อในกลุ่มเฝ้าระวัง
year Round Blood Don IDU ANC Man check STI Di_FSW Indi_FSW 2547 22 0.23 42.22 1.04 5.00 7.36 4.00 2548 23 0.22 37.64 1.01 4.13 6.80 3.37 2549 24 0.29 36.33 0.87 3.39 4.59 2.27 2550 25 0.19 25.62 0.78 4.55 5.57 3.35 2551 26 0.18 48.15 0.72 4.05 4.71 2.64 2552 27 0.15 52.38 0.65 3.93 2.76 1.71 2553 28 0.17 40.65 0.70 1.09 2.82 2.05 2554 29 0.14 26.58 0.58 3.19 2.00 1.75 2555 30 16.10 0.59 2.80 2.99 0.02 2556 31 0.10 13.82 4.42 1.96 2557 32 0.11 33.33 0.82 4.18 1.56 ที่มา: รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ส.ระบาดวิทยา

5 Thailand HIV/AIDS Situations
HIV prevalence (2014) Condom use at last sex (2014) ANC 0.52% ↔ Conscript % (2013) ↔ FSW 1.1% MSM 9.2% ↑ MSW 11.9% ↔ PWID 19.0% ↔ Migrant % (2012) ↔ FSW 96.1% ↔ MSM 82.1% ↔ MSW 95.5% ↔ PWID 47.2% ↔ VCT and knowing status (2014) Status of epidemics ANC (age 15-24) represents a prevalence of HIV in women. Military conscripts represents a prevalence of HIV in men. FSW 54.2% ↑ MSM 30.8% ↑ MSW 53.4% ↑ PWID 61.1% ↑ Needle and Syringe exchange PWID 78% (2010), 81%(2012), 84.9% (2014) Source: IBBS and Sentinel surveillance in 2015 Thailand AIDS Response Report

6 หลักการและแนวคิดสำคัญ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี่ทราบว่า การรักษาด้วย ART จนมี viral suppression เป็นกลวิธีที่มีประสิทธิผลในการป้องกันการแพร่เชื้อสูงสุดถึง 96% การศึกษาแบบจำลองในไทย หากลงทุนกับนวัตกรรมนี้เพิ่มอีก 3,000 ล้าน ใน 10 ปี จะลดการติดเชื้อใหม่ได้ 20,000 ราย ลดการเสียชีวิต 22,000 คน และประหยัดได้ 9,000 ล้านบาท โดยสามารถยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยได้ นิยามการยุติปัญหาเอดส์ ไม่มีการติดเชื้อเมื่อแรกคลอด, ผู้ติดเชื้อใหม่วัยผู้ใหญ่เหลือน้อยกว่า 1,000 รายต่อปี) ภาพจำลองแนวโน้มการติดเชื้อใหม่รายปี ในสถานการณ์ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ และแผนยุทธศาสต์เอดส์ชาติที่ผนวกกลวิธียุติปัญหาเอดส์ Expand HCT and Treatment as Prevention to KAP in the ending AIDS responses

7 ยุทธศาสตร์มุ่งเติมเต็มช่องว่างระหว่างการดำเนินงานในปัจจุบันกับการดำเนินงานที่มีประสิทธิผลที่จำเป็นต่อการยุติปัญหาเอดส์ ปรับเปลี่ยนมโนทัศน์จากควบคุมโรคเป็นยุติปัญหาเอดส์ ส่งเสริมทุกคนให้รู้สถานะการติดเชื้อ ครอบคลุม 90% ประชากรหลักสำคัญคือ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการและลูกค้า ผู้ใช้สารเสพติดแบบฉีด ผู้ต้องขัง คู่ของกลุ่มประชากรสำคัญและผู้มีผลเลือดต่าง กำหนดชุดบริการป้องกันผสมผสาน ที่เหมาะสมกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และพื้นที่ ผสมผสาน ประโยชน์ด้านการป้องกันของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ กับ การป้องกันด้านพฤติกรรม โดยเริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อที่ทุกระดับ CD4 การเพิ่มคุณภาพบริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัส พัฒนาสภาพแวดล้อมทางนโยบาย การบริหารจัดการข้อมูล เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน และลดการตีตราหรือเลือกปฏิบัติ

8 กลยุทธต้องมีความมุ่งเน้น 3 เรื่อง
ด้านพื้นที่: พื้นที่ Hot spots และจังหวัดเป้าหมายซึ่งมีความชุกสูง, จำนวนประชากรเป้าหมายสำคัญมาก กรุงเทพฯ จังหวัดเร่งรัด 32 จังหวัด จังหวัดที่เหลือ ด้านประชากร : มุ่งครอบคลุมในกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูงสุด ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย/ สาวประเภทสอง พนักงานบริการชาย พนักงานบริการหญิง ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ผู้ต้องขัง, เยาวชนในสถานพินิจ คู่เพศสัมพันธ์ของ : กลุ่มประชากรหลัก ผู้ติดเชื้อฯซึ่งอยู่ในระบบดูแลสุขภาพ ชุดบริการ : มีครบทั้ง BCC, Condom, HCT, STI, และ ART ได้คุณภาพที่ถูกต้องและถูกใจ ชุดเข้มข้นที่สุด ชุดครอบคลุม ชุดพื้นฐาน PWID คือ?

9 ประชากร และพื้นที่เป้าหมาย
89% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 38,883 คน อยู่ในกลุ่มประชากรหลัก 66% ของผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่ อยู่ใน 33 จังหวัด

10 กรอบแนวคิดหลักแผนงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์
การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง Reach&Recruit เข้าหาและเชิญชวนเข้ารับบริการ สร้างความต้องการใช้บริการ (Condom, VCT, Needle and syringe) Test การตรวจเลือดแบบรู้ผล วันเดียว (SDR) รูปแบบบริการที่เป็นมิตร ตรวจหาการติดเชื้อเป็นประจำ Treat เข้ารักษาด้วยยาต้านไวรัส แต่เนิ่นๆ บริการ ART ที่ได้คุณภาพ รูปแบบบริการที่เป็นมิตร Retain คงอยู่ในระบบบริการ ทั้งผู้ที่กินยาต้านแล้วและ ยังไม่เริ่มกินยาต้าน มาตรวจ VCT ซ้ำอย่างสม่ำเสมอ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและความเป็นเจ้าของโดยชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมทางกฎหมายให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์และการใช้ประโยชน์ การบริหารจัดการและสนับสนุนด้านวิจัยและพัฒนา

11 Thailand HIV/AIDS Epidemic
Interventions First report  Explosive Epidemic Rapid spreading among IDUs “0%”  “30%” Massive campaign with 100% condom  Care and ART  Focus on prevention AIDS in 2 men (homosexual contacts) 1984 1987 1988 1989 1991 2000 2010 Report in blood transfusion Rapid spreading among FSW (44%) Concentrated epidemic (MSM, SW and IDUs) Soon after the report of first cases At the same time, public awareness of the issue was increasing. The case of Cha-on Suesom, a factory worker who became infected with HIV following a blood transfusion, was widely broadcast through the media after he agreed to allow his story and identity to be publicised in He became well known after appearing on TV shows and in national newspapers, allowing the public to appreciate the human side of the epidemic. Cha-on and his wife had both been fired from their jobs as a result of his HIV-positive status, and the injustice of this situation helped to increase public sympathy for people living with HIV. 7 2014 AEM Estimation: 8,535 new infections 1,175,078 cumulative HIV+ 431,475 Living with HIV Generalized Epidemic: Children born to HIV+ women

12 Key population size estimates
Year of estimate People who inject drugs 40,300 2009 Female sex workers 123,530 2010 Men who have sex with men 550,571 Source: Prepared by based on 1. Aramrattana, A. (2012). Estimated Size of Injecting Drug Users (IDU). Unpublished Power Point Presentation at Size Estimation Stakeholder Seminar January 10th, 2012, Richmond Hotel, Nonthaburi; 2. Peerapatanapokin, W. Estimated sizes of Men who have Sex with Men (MSM). Unpublished Power Point Presentation at Size Estimation Stakeholder Seminar January 10th, 2012, Richmond Hotel, Nonthaburi, Thailand; and 3. Sub-Technical Working Group on Projection and Estimation. (2012). Size Estimation for Sex Workers. Unpublished Power Point Presentation at Size Estimation Stakeholder Seminar January 10th, 2012, Richmond Hotel, Nonthaburi.

13 การคาดประมาณจำนวนประชากร รศ. ดร
การคาดประมาณจำนวนประชากร รศ.ดร.มานพ คณะโต ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2557

14 ความสัมพันธ์ระหว่างยาเสพติด และการติดเชื้อเอชไอวี
พฤติกรรมการใช้เข็ม และอุปกรณ์ในการเตรียมและฉีดยาร่วมกันในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดด้วยวิธีฉีด การมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ป้องกัน การขายบริการทางเพศของผู้ใช้ยา/สารเสพติดทั้งชายและหญิง หลายคงจะทราบกันแล้วว่ายาเสพติดมีความเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อเอชไอวี นอกจากยาเสพติดจะก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคม เศรษฐกิจแล้ว พฤติกรรมการใช้เข็มและอุปกรณ์ในการเตรียม และฉีดยาร่วมกันในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดชนิดฉีด ซึ่งบางครั้งมีการเช่าเข็มฉีดยา หรือเก็บเข็มที่คนอื่นใช้และทิ้งแล้วนำกลับมาใช้ต่อ มีโอกาสที่จะถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากคนหนึ่งไปสู่คนต่อ ๆ ไปได้ และสำหรับคนที่ใช้ยาเสพติดแบบอื่น เช่น กิน สูด ดม ยังส่งผลต่อการควบคุมทางสมอง ขาดสติ จนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน เช่น การไม่สวมถุงยางอนามัยในขณะมีเพศสัมพันธ์ และปัจจุบัน ยังพบว่ามีการขายบริการทางเพศของผู้ใช่ยา/สารเสพติด ซึ่งเป็นโอกาสทำให้แพร่กระจายเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้

15 Risk Factor Source : Epidemiology Bureau * exclude unk risk factor

16 *Estimated number of PWID in Thailand = 40,300
Integrated Biological and Behavioral Surveillance (IBBS) among PWID Using Respondent Driven Sampling (RDS) conducted in 3 provinces in 2010, 2012 and 2014 Source: Bureau of Epidemiology *Estimated number of PWID in Thailand = 40,300 Source: National Estimation using Network Scale-Up (NSU) method, NAMC (2010)

17 จำนวนผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีดที่เข้าร่วมในการเฝ้าระวัง 4 จังหวัด พ.ศ.2555
No.of people The blue column shows the number of IDU screened and the green column show the numbers of IDU who participated; In BKK, a total of 808 people were screened. Of those screened, 92% participated in the survey. In CM, a total of 397 people were screened. Of those screened, 78% participated. For those who were screened and not eligible, we found that most of them were not IDU. We had trained staff to check track marks. If no track marks, we asked the person to describe and demonstrate: How they prepare the drug and the injection site How they prepare injection equipment How they inject After injecting, what they do with their equipment

18 จำนวนผู้เข้าร่วมการเฝ้าระวัง จังหวัดกรุงเทพฯ จำแนกรายเขต 2553&2555
สมุทรปราการ 47 ราย นนทบุรี 3 ราย ปทุมธานี 3 ราย 1 2 3 8 13 4 14 7 9 74 25 17 2553 สมุทรปราการ 54 ราย นนทบุรี 24 ราย ปทุมธานี 6 ราย

19 จำนวนผู้เข้าร่วมการเฝ้าระวัง จังหวัดเชียงใหม่ จำแนกรายเขต 2553&2555
2010, N=150 Mueang Chiangmai 195 2012, N=274

20 จำนวนผู้เข้าร่วมการเฝ้าระวัง จังหวัดสงขลา จำแนกรายเขต 2553&2555

21 เครือข่ายจำแนกการรับบริการที่เมทาโดนคลินิก กรุงเทพและปริมณฑล
seed seed seed seed

22 Sex: Male Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

23 Age: < 25 years In summary:
We found high HIV prevalence among IDUs in both cities, but the numbers are different from the national surveillance which is more clinic-based, or if this means community-based results are more likely to be representative of IDUs than the passive institutional data We found high-risk behaviors in both cities, but particularly high in CM. There are different characteristics between CM and BKK IDUs as we can see CM participants are younger, have more risk behaviors, and have little access to intervention. And we also found multiple-drug injection in both cities. Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

24 Types of drugs injected in past 12 months, IBBS 2014
In summary: We found high HIV prevalence among IDUs in both cities, but the numbers are different from the national surveillance which is more clinic-based, or if this means community-based results are more likely to be representative of IDUs than the passive institutional data We found high-risk behaviors in both cities, but particularly high in CM. There are different characteristics between CM and BKK IDUs as we can see CM participants are younger, have more risk behaviors, and have little access to intervention. And we also found multiple-drug injection in both cities. Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

25 Started injecting ≤ 2 years
In summary: We found high HIV prevalence among IDUs in both cities, but the numbers are different from the national surveillance which is more clinic-based, or if this means community-based results are more likely to be representative of IDUs than the passive institutional data We found high-risk behaviors in both cities, but particularly high in CM. There are different characteristics between CM and BKK IDUs as we can see CM participants are younger, have more risk behaviors, and have little access to intervention. And we also found multiple-drug injection in both cities. Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

26 Injecting drug users Since 2000 used prevalence that weighted Heroine & Non heroine (sheet weight IDU factor) แนวโน้มของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีดจากการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี คงที่ 30-40% ตั้งแต่ปี 2532 ถึงปัจจุบัน แต่กลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการลดลงจากเดิมมากเหลือประมาณ ราย เนื่องจากเป็น IDU ที่มารับบริการที่เมทาโดนคลินิก ในปี 2553 มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังในกลุ่มนี้โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเครือข่าย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มตัวอย่างได้มากขึ้น พบความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี 22.3% ค่าที่ใช้ใน AEM เป็นค่าที่ average มาจากพื้นที่กรุงเทพฯและเชียงใหม่ แยกรายปี ปี 2009=19.45%. 2010=21.7%. 2012=27.2%, 2014=19.2% Source: HSS 2 sites, IBBS 4 sites

27 ความชุกของการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Syphilis infection Central Chiang Mai Songkhla n/N 2/321 12/274 2/173 Crude % 0.6 4.4 1.2 RDSAT adjusted % 5.7 1.5 95% CI of RDSAT-adjusted 2010 2012

28 Use of new needle at last injection
% Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

29 Ever tested for HIV % Source: Bureau of Epidemiology, IBBS using RDS

30 ข้อมูลทั่วไปอื่นๆเกี่ยวกับการใช้ยาด้วยวิธีฉีด 2014
Other drug use information BMA, Samuthprakarn (N=343) Chiang Mai (N=280) Songkhla (N=199) RDS adjusted % (95%CI) Injection time <1 year 2-5 year > 5 year 6/343(2.4) 12/343(2.9) 325/343(94.7) 33/280(18.1) 98/280(39.4) 149/280(42.5) 2/199(1) 17/199(6.5) 180/199(92.5) Ever had drug overdose 100/343(22.8) 45/280 (12.4) 20/199 (14.1)

31 การใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
Total Males Females <25 25+ 47.2 39.3 38.9 40.0 37.9 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา, IBBS ปี 2557

32 ร้อยละของผู้ใช้ยาที่ใช้เข็มสะอาดในการฉีดสารเสพติดครั้งล่าสุด
Total Males Females <25 25+ 84.9 64.2 66.4 64.9 65.4 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา, IBBS ปี 2557

33 ได้รับการตรวจ HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาและทราบผลการตรวจ
Total Males Females <25 25+ 48.4 35.6 34.3 25.8 50.6 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา, IBBS ปี 2557

34 ความชุกของการติดเชื้อ HIV
Total Males Females <25 25+ 19.0 25.2 25.0 3.0 26.0 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา, IBBS ปี 2557

35 พฤติกรรมการใช้สารเสพติดในเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2557
มัธยมศึกษาปีที่ 5 อาชีวศึกษา ชาย หญิง เฮโรอีน 0.5 0.2 0.7 ยาบ้า 3.1 0.4 6.2 1.5 กัญชา 8.7 1.1 14 2.9 ยาเค 0.1 ยาอี 0.3 ปัญหาการแพร่ระบาดของการใช้สารเสพติดนับเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที่ส่งผลให้การแพร่ระบาดของการติดเชื้อ เอชไอวีมีความรุนแรง อิทธิพลของสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ยังคงพบปัญหาการใช้สารเสพติด ได้แก่ เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี กัญชา สุรา ฯลฯ ในเด็กและเยาวชน จากรายงานการสำรวจพฤติกรรมพบว่า มีนักเรียนทั้งชาย และหญิง เคยใช้สารเสพติด ในทุกชั้นปีที่สำรวจ (มัธยมศึกษาปีที่ 2 มัธยมศึกษาปีที่ 5 และอาชีวศึกษา) โดยที่นักเรียนชายและหญิงของทุกระดับชั้น มีการใช้กัญชามากที่สุด และรองลงมา คือ ยาบ้า ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโดยใช้คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา ปี พ.ศ.2557 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค


ดาวน์โหลด ppt นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google