การนำนโยบายปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏิบัติ ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้าหมายตามนโยบาย ขีดความสามารถในการแข่งขัน เตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC เสริมสร้างสมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้นักเรียนใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตน
1. ใช้กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ได้แก่ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัด การเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย A1 A2 B1 B2 C1 C2
A1 Breakthrough or beginner A2 Waystage or elementary ใช้ CEFR เป็นเป้าหมายการพัฒนานักเรียน พัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน และการทดสอบวัดผล A1 Breakthrough or beginner A2 Waystage or elementary B1 Threshold or intermediate B2 Vantage or upper intermediate
กำหนดระดับภาษาอังกฤษของนักเรียน CEFR เป็นเป้าหมายการพัฒนานักเรียนและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน A1 จบ ป. 6 A2 จบ ม. 3 B1 จบ ม. 6 B2 C1 C2
ใช้ CEFR ในการพัฒนาครู ประเมินความสามารถของครู จัดกลุ่มตามระดับความสามรถทางภาษา พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทดสอบ
2.ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้ภาษา โดยเน้นการสื่อสาร(Communicative Language Teaching: CLT) เริ่มจากการฟังตามด้วยการพูด การอ่าน และการเขียนตามลำดับ
3. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก ใช้รูปแบบวิธีการที่แตกต่างกันได้ตามความพร้อมด้านครู สื่อ ผู้ปกครอง) ความพร้อมปานกลาง ความพร้อมน้อย ความพร้อมมาก
ระดับความพร้อมของสถานศึกษา ลักษณะ/สภาพ/ความพร้อม น้อย/ไม่มี โรงเรียนขนาดเล็ก ครูไม่ครบชั้น ไม่มีครูจบเอกภาษาอังกฤษ ครูไม่มีความถนัดในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผู้ปกครองขาดความพร้อมในการสนับสนุน ขาดความพร้อมด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ปานกลาง โรงเรียนขนาดกลางขึ้นไป ครูครบชั้น และมีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตร ผู้ปกครองมีความพร้อมในการสนับสนุนพอสมควร มีสื่อและวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ สูง โรงเรียนขนาดใหญ่ขึ้นไป ครูครบชั้น และมีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรสูง ผู้ปกครองให้การสนับสนุนดีมาก มีสื่อและวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอและทันสมัย
4. ส่งเสริมการยกระดับความสามารถ ในการใช้ภาษาอังกฤษ ขยายโครงการพิเศษด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (EP/MEP/EBE/EIS) การพัฒนาห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (Enrichment Class) การจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาสนทนาภาษาอังกฤษ
5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR ประเมินความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษาอังกฤษ จัดระบบการนิเทศ ติดตาม สนับสนุน ช่วยเหลือ จัดให้มีกลไกการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน จัดให้มีระบบการฝึกฝน และการสอบวัดระดับความสามารถออนไลน์
6. ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยพัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน ส่งเสริมการผลิต การสรรหา e-content, learning applications รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ ส่งเสริมให้มีการใช้ช่องทางการเรียนรู้ผ่านโลกดิจิทัล การเพิ่มชั่วโมงเรียน การเรียนอย่างต่อเนื่องครึ่งวัน การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศที่ส่งเสริม/กระตุ้น