การตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2559 การติดตามการดำเนินงานตัวชี้วัด คณะ 2 เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ ผศ.(พิเศษ)นพ.ทศพร ศิริโสภิตกุล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
RF COC /Palliative care.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2559 การติดตามการดำเนินงานตัวชี้วัด คณะ 2 เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ ผศ.(พิเศษ)นพ.ทศพร ศิริโสภิตกุล รักษาการรองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

ภาพรวมงาน Service plan จังหวัดชัยภูมิ แม้จะมีข้อจำกัดด้านกำลังคนและเครื่องมือก็ตาม รพ.ชัยภูมิมีการพัฒนาระบบบริการและงาน Service plan อาคารสถานที่ อย่างต่อเนื่อง มีความร่วมมือระหว่าง สสจ.ชัยภูมิ กับ รพ.ชัยภูมิในการพัฒนางาน มีการพัฒนาเครือข่ายแบ่งเขตรับผิดชอบ เป็น 4 Node ชัดเจน ผลงาน Service plan แต่ละสาขา ส่วนใหญ่บรรลุผลตามเป้าหมาย

ผลการพัฒนาศักยภาพของ รพ.ชัยภูมิ Refer out มีแนวโน้มลดลง แต่ Refer in เข้ามาในรพ.ชัยภูมิจากเครือข่ายยังเพิ่มอยู่

ผลงานเด่น มี Stroke unit 6 เตียง มี Clinic ชะลอไตเสื่อม CKD Clinic 100% ใน รพ. F2 ขึ้นไป Warfarin Clinic 100%

ผลงานเด่น (ต่อ) ผ่าตัด spine ผ่าน endoscope เป็น รพ.จังหวัดแห่งแรกของไทย Best Practice Service plan หัวใจ เขต 9 Best Practice Service plan ออร์โธ เขต 9

1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ ผลจากการพัฒนาเครือข่าย,ระบบ Consult, ระบบ Fast Track / CPG/ออกนิเทศ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ธ.ค. 58) 1. อัตราการได้รับยาละลายลิ่มเลือดและหรือขยายหลอดเลือดหัวใจ (PPCI) (≥ ร้อยละ 75) 56.8 (71/125 ราย) 76.19 (96/126 ราย) 79.41 (27/34 ราย) 2. โรงพยาบาล F2 ขึ้นไป สามารถให้ Fibrinolytic drug ได้ (F2 ทุกแห่งมียาครบ 100%) 6.66 20 100 (12/15) 3. อัตราการเสียชีวิต (<10%) 9.6 (12/125 ราย) 4.4 5.88 (5/34 ราย) 4. อัตราการเสียชีวิตขณะจำหน่าย 30 วัน(<10%) 23.2 20.7 15.15

1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ สิ่งที่ชื่นชม KPI บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมาย มี Warfarin Clinic ครบ 100% และมีผลงานเทียบเท่า รพศ. ในเขต ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ยังมีปัญหา Onset to needle time ที่ล่าช้าเนื่องจากผู้ป่วยมาหาแพทย์ช้าควรรณรงค์ให้ภาคประชาชนตระหนักถึงโรคและการเข้าถึงบริการ เช่น STEMI Alert ,STEMI Fast tract พัฒนาให้เครือข่ายมีความมั่นใจในการวินิจฉัยได้รวดเร็ว

2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ตัวชี้วัด Outcome (0203) 1. อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ที่มีค่า PS score ≥0.75 ในโรงพยาบาล ระดับ A (< ร้อยละ 1) ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ม.ค. 59) 0.27 0.34 0.38

2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สิ่งที่ชื่นชม บุคลากรน้อยแต่เข้มแข็ง สามารถพัฒนาระบบต่างๆได้ดี ระบบ Prehos : 1669 ระบบ Inhos มี ER คุณภาพ Fast Tract Thai Refer Consult ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เสนอแนะเรื่องการ Prevention ในส่วนของ Pre-hospital ควรมีการ บูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ผวจ ได้ ให้ความสำคัญในการ ทำมาตรการป้องกัน 3E ผ่านกลไก เช่น ศปถ ด่านชุมชน จัดการจุดเสี่ยง ให้ความรู้ บังคับใช้กฏหมาย แต่ขอให้ทำสม่ำเสมอและครอบคลุม

3. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง ตัวชี้วัด ปี 57 ปี 58 ปี 59 (ต.ค.-ม.ค. 59) 1. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งที่มีระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยการผ่าตัดภายใน 4 สัปดาห์ ร้อยละ 80 58.73 (37/63 ราย) 68.75 (88/128 ราย) 56.25 (18/32 ราย) 2. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งที่มีระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายใน 6 สัปดาห์ ร้อยละ 80 88.89 (56/63 ราย) 95.31 (122/128 ราย) 100 (36/36 ราย)

3. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง สิ่งที่ชื่นชม ภายใต้การขาดแคลนศัลยแพทย์ นรีเวช อายุรแพทย์มะเร็ง พยาบาล และ Facility แต่ผลงานตาม KPI Service plan ส่วนใหญ่ได้ผลตามเป้าหมาย ภายในปี พฤษภาคม 2559 พัฒนารพ.ภูเขียว (M2) จนสามารถให้เคมีบำบัดได้ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เพิ่มการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งกลุ่มเป้าหมายโดยการประสานความร่วมมือกับ FCT พัฒนาระบบข้อมูลทะเบียนมะเร็ง

4. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ม.ค. 59) อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน (< 5:1000 การเกิดมีชีพ) 6.57 4.33 3.94 4.71 จำนวนเตียง NICU ในจังหวัดชัยภูมิยังไม่เพียงพอตามเกณฑ์ เป้าหมาย คือ 18 เตียง ปี 2559 ขยายเตียง NICU ในรพ.ชัยภูมิ 10 เตียงเพิ่มเป็น 12 เตียง เมื่ออาคารแม่และเด็กก่อสร้างแล้วเสร็จจะขยายเพิ่มเป็น 16 เตียง รวมภูเขียว 2 เตียง เป็น 18 เตียงตามเกณฑ์ แนวทางการพัฒนา

4. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด สิ่งที่ชื่นชม ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา - พัฒนาคุณภาพระบบการส่งต่อในประเด็นที่ยังมีปัญหา เช่น Tube ลึก ออกซิเจนหมดระหว่างทาง - ร่วมมือกับภาควิชาสูติฯ และ DHS ดูแล Teenage pregnancy มีการพัฒนาศักยภาพภายในรพศ.รวมทั้งเครือข่าย ครอบคลุมทั้งระบบ Refer เครื่อง มือ Incubator การออกนิเทศ การทำ Conference ส่งผลให้ ภาวะแทรกซ้อนในการส่งต่อลดลง เช่น Hypo - Hyperthermia

5. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาไต ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ตัวชี้วัด : (0212) 1. ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min 1.72 m2/yr (> ร้อยละ 50) ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 - 2559 (ไตรมาสแรก ปี 59) - 62.97 *ข้อมูลจากรพ.ชัยภูมิ จัดบริการ CKD Clinic ที่มี Function ในระดับ F2 ครบ100%

5. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาไต สิ่งที่ชื่นชม การพัฒนา Node อย่างจริงจังโดย specialist ออกไปตรวจเยี่ยมผู้ป่วยตาม Node รพ.ชัยภูมิ และ สสจ. สนับสนุนงานด้านนี้อย่างดี เช่น นักกำหนดอาหาร ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา พัฒนาโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้งเขตสุขภาพ ควบคุม NCD เช่น DM / HT ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ เพิ่มจำนวนการคัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM / HT

6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาตา ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ตัวชี้วัด (0213) 1. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกระยะบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 80) ออกหน่วยคัดกรองต้อกระจกเชิงรุก ผ่าตัดต้อกระจกรพช. เพิ่มการเข้าถึง การดำเนินการ ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค. - ม.ค. 59) 93.70 100 91.50

6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาตา สิ่งที่ชื่นชม มีการพัฒนาเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง โดยการออกหน่วยให้บริการผ่าตัดตาต้อกระจกเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชนได้ 100% (1,263/1,263) บริการเชิงรุก มีการสนับสนุนเครื่องมือ Fundus camera อย่างเต็มที่ มีความร่วมมือระหว่าง รพศ. รพช. มูลนิธิ รพ.สต. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา การเชื่อมโยงข้อมูลการทำงานยังมีปัญหาต้องปรับปรุง เช่น การคัดกรอง (ทำมากแต่รายรอบรวบรวมได้ต่ำ)

7. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ตัวชี้วัด (0214) 1. ร้อยละของรพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ( > ร้อยละ 50) การดำเนินการ 2.หมุนเวียนออกให้บริการใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตาภิบาลประจำ 3.สนับสนุนยูนิตทันตกรรม ครุภันฑ์และวัสดุสำหรับการจัดบริการทันตกรรม ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 14.37

7. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก สิ่งที่ชื่นชม แม้จะขาดแคลนทันตภิบาล (มี 66 จาก 167 แห่ง) มีความพยายามร่วมกันระหว่างเครือข่ายในการหมุนเวียนคนเงินของ ความรู้ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วางแผนขอสนับสนุนอัตรากำลัง เช่น ทันตภิบาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ จากเขต ปรับปรุงระบบลงข้อมูล 43 ให้สมบูรณ์

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก ตัวชี้วัด Service 1. สาขาศัลยกรรม Appendectomy ในโรงพยาบาลตั้งแต่ M2 ลงไป เป้าหมายร้อยละ 25 2. สาขาสูติกรรม Caesarean section ในโรงพยาบาลตั้งแต่ M2 ลงไป (10% ของทั้งจังหวัด) ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ม.ค. 59) 25 26 38 34 ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ธ.ค. 58) 31.83 32.86 35.30 36.61

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก 3. สาขาศัลยกรรมกระดูก ให้การดูแลรักษา non displaces fracture ในโรงพยาบาลตั้งแต่ M2 ลงไป เป้าหมายร้อยละ 25 Service plan Orthopedics Total Referral Case and RW < 0.5 ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ธ.ค. 58) - ปี 59ลดลง ผลการดำเนินงาน

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก 4. สาขาอายุรกรรม ให้การดูแลรักษา sepsis ได้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ M2 ลงไป เป้าหมาย refer in sepsis ลดลง ร้อยละ 30 5. สาขากุมารเวชกรรม ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กที่ on respirator ได้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ M2 ลงไป เป้าหมาย ส่งต่อ on respirator ที่เหมาะสม ร้อยละ 30 ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - ลดลง 32.21% ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.-ธ.ค. 58) - 45.5 62.5

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก สิ่งที่ชื่นชม มีการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเพิ่มศักยภาพและคุณภาพการบริการ ลดการส่งต่อและลดความแออัดที่โรงพยาบาลชัยภูมิ ในสาขาต่างๆอย่างชัดเจน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา สูติฯหาแนวทางเพื่อแก้ไขร่วมกันในเรื่อง MMR ตาย 1 จาก Direct cause PIH,PPH ศัลย์ อัตราพบ rupture appendicitis trend ลดแต่ยังเกินค่าเป้าหมาย Med ควรประเมินผล การใช้ CPG ระบบ fast tract เพื่อแก้ไขจุดอ่อน Ped วางแผนเพิ่มจำนวนเตียงใน PICU ให้เหมาะสม Ortho ออกนิเทศ เครือข่าย และ ทำ conference วิชาการ ให้ถี่ขึ้นและสม่ำเสมอ

13. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด 43 % 55 % 92 %

13. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด สิ่งที่ชื่นชม มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เครือข่าย ระบบยา ระบบ Consult อย่างมีประสิทธิภาพ มีแผนจะเปิด ward จิตเวชในปี 2559 ผลงานส่วนใหญ่บรรลุตามเป้าหมาย ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ภาพรวมของการเข้าถึงบริการดูดีแต่ถ้าแยกรายอำเภอหลายอำเภอยังต้องพัฒนาแก้ไข จัดการปัญหาเรื่องฆ่าตัวตายสำเร็จซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ( 6.25 ต่อแสนประชากร เป้าหมายไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร) ควรมีการวิเคราะห์ทบทวนแผน /ทบทวนผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายหรือฆ่าตัวตายสำเร็จ เพื่อนำมาวางแผนป้องกันการฆ่าตัวตายได้ตรงสาเหตุ

14. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ (DM/HT) ตัวชี้วัด (0218) 1. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 40) (0219) 2. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 50)

14. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ (DM/HT) ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ปัญหาที่พบผู้ป่วยรายใหม่ DM และ HT เพิ่มขึ้นทุกปี 3 ปีติดต่อกัน ควรดำเนินการดังนี้ 1. ลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่โดยคัดกรองความเสี่ยง กลุ่มประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป และแยกเป็น 8 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มปกติ 5. สงสัยผู้ป่วยความดันรายใหม่ 2. กลุ่ม BMIเกิน 6. สงสัยผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 3. Per DM 7. ผู้ป่วยรายใหม่ DM 4. Per HT 8. ผู้ป่วยรายใหม่ HT 2. นำกลุ่มที่เสี่ยงมาเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนกลุ่มอื่นๆ โดยใช้กระบวนการ หมู่บ้าน ตำบลจัดการสุขภาพ 3. กลุ่มป่วยแล้ว - สัดส่วนที่ป่วย อยู่รพ.สต. รพช. มีผลกระทบต่อการควบคุมน้ำตาลให้ดี หรือคุมความดันโลหิตได้ดี หรือไม่ - อยากให้คืนข้อมูลให้ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกัน ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย และครอบครัวด้วยทีมเยี่ยมบ้านของรพ.สต. 4. พัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูล 5. การประเมิน NCD คุณภาพ ดู OUT PUT และ OUT COME

15. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ (Stroke) ตัวชี้วัด (0220) ร้อยละอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 7)

15. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ (Stroke) อัตราการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบตันที่มาทันเวลาได้ยา rt-PA ≥ ร้อยละ 3.75

15. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ (Stroke) สิ่งที่ชื่นชม มี Stroke unit ที่ รพ. 6 เตียง ดูแลด้วยสหวิชาชีพ มี Discharge Plan : rehabilitation และให้ความรู้กับ Care giver มีการใช้ care map ในการดูแลแบบเดียวกันกับ บุรีรัมย์และ สุรินทร์ ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา จากข้อมูลผู้ป่วยเข้าถึงบริการทันเวลาเพียง 13.46 % แนะนำให้กระตุ้นรณรงค์ ให้ความรู้เรื่อง Stroke alert stroke fast tract แก่ประชาชน ผ่านกลไก DHS FCT ให้เข้มข้นและสม่ำเสมอ มากขึ้น

16. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ(COPD) ตัวชี้วัด (0221) อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร)

16. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ(COPD) สิ่งที่ชื่นชม มีผลงานจากการพัฒนาเครือข่ายได้รางวัล R2R ทั้ง Asthma COPD สนับสนุนเครือข่าย จนมี spirometry 87% COPD clinic ใน รพช. 100% อัตราตายของผู้ป่วย COPD น้อยกว่า 4% (3.75) Clinic เลิกบุหรี่ ใน COPD ได้ 32% ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา -

17. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ตัวชี้วัด (0224) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน เป้าหมายร้อยละ 18 ผลการดำเนินงาน ปี 2558 ปี 2559 (ต.ค.58-ธ.ค.58) 11.98 12.83 ผลงานจะสูงในระดับ รพ.สต. และ บางรพช. ที่มีการใช้ยาสมุนไพรและมีกิจกรรม ไม่ใช่ผ่านทุกอำเภอ (ผ่าน3/16)

17. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน สิ่งที่ชื่นชม มีแผนการจัดบริการอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม เช่น จัดบริการแบบ One stop service เพิ่มอำเภอในการให้บริการ เพิ่มบุคลากรที่ยังไม่เพียงพอ เช่น ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา

ขอบคุณครับ