หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
5 สายโซ่คุณค่า คืออะไร ? Value Chain (Supply Chain) 1.
Advertisements

ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement) ลักษณะสำคัญขององค์กร
6 การจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
การจัดทำผังดุลดัชนี (BSC) ตามกรอบแนวทาง
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
Information Systems Development
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
แผนกการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
11 May 2014
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
Software Evolution แบบจำลองกระบวนการพัฒนา/ผลิตซอฟต์แวร์ (Process Model) แบบจำลองใช้สำหรับชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (key Activities) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดหรือข้อบัญญัติไว้ในแต่ละกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนที่มีลำดับขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน.
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ไคเซ็น KAIZEN.
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์
จารย์เวิน.
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย 13-01-53 เวลา 10.45 น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา ตารางที่ 1 กระบวนการหลัก (Key Process) ผลิตภัณฑ์ / บริการ ที่สำคัญ (Key Output) ผู้รับบริการ/หน่วยงานที่สำคัญ (Key Customer) กระบวนการหลัก/กระบวนการย่อยที่เราเลือกทำ Output ผลิตภัณฑ์ / บริการ จากตาราง SIPOC ภาพรวม Customer จาก SIPOC รวม อย่ามาบ่นมากทุกอย่างเป็นเรื่องของการจัดการ นำมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน แล้วแต่ใครมาระบบเรานิ่ง เราสามารถนำไประยุกต์ตอบได้เพื่อ integration การประเมินนั้นจะต้องมีการเชื่อมโยงไปยังภารกิจ พันธกิจขององค์กร นอกจากนั้นจะมีการเชื่อมโยงไปยังเรื่องต่างๆ ที่ต่อเนื่อง ในเรื่องของ value chain นั้น ในcore processes นั้น ให้นำเอาพันกิจมาลง โดยมี core processes ส่วนในพันธกิจนั้น พบว่า สามารถทำ sub process ในแต่ละพันธกิจ เราสามารถทำเพิ้มเติมได้ การสอนนอกเวลาราชการ การเปิดแบบราชภัฎมาเปิดที่เชียงใหม่ เป็นการเรียนการสอนนอกเวลาราชการ พันธกิจ วิสัยทัศนั้นต้องสอดรับกับผลิตภัณฑ์และบริการที่รับมา และสอดรับกับกระบวนการและสอดรับกับ processes & competency การกำหนด stakeholders นั้นจะต้องมีการพิจารณาอย่างจริงจัง อาจจะทำให้การดำเนินการ การกำหนดวิสัยทัศน์ยังไม่แหลมคมพอ ผลการดำเนินการที่คาดหวังไว้จาก พันธกิจและลูกค้าของพันธกิจนั้น โดยมองภาพจากการดำเนินการในเรื่องของ output outcome ในแต่ละพันธกิจมีงานค่อนข้างมาก ดังนั้นในเรื่องดังกล่าว จะต้องมีการจัดทำ sub processes หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย 13-01-53 เวลา 10.45 น. ทคบร ที่ประชุมบัณฑิตวิทยาลัยระดับประเทศ เป็น suppliers เป็นเรืองของการทำ QM ไม่ใช่การทำ QA โครงร่างองค์กร เรียกว่าภาพรวมองค์กร น่าสนใจกว่า ข้อ 1 Value chain ส่วนมากเราไม่มองในเรื่องของ processes ภาพของกระบวนการ process 3 เรื่อง แสดงว่า OK สนับสนุน 7 กระบวนการสนับสนุน กระบวนการหลัก กับกระบวนการสนับสนุนในเรื่องของกกระบวนการกำกับ ดูแลมาตรฐานการศึกษา ของกระบวนการหลีก กับ กระบวนการสนับสนุนตรงกัน ต้องไปปรับกระบวนการสนับสนุน ว่าเป็นกระบวนการใดแน่ การกรอกข้อมูลยังไม่เกิดการเชื่อมโยง ข้อที่ 1 กระบวนการส่งมอบบริการเกิดจาก 3 กระบวนการหลัก การเขียน sipoc ไม่ตรงกับกระบวนการใน value chain ใน slide ของ sipoc นั้น ในการกำหนดคณะกับอาจารย์ มีการกล่าวซ้อนกัน อาจเปลี่ยนคณะเป็นเจ้าหน้าที่ และอาจารย์ ควรนำ sipoc ในการทำ prework นำไปตอบในข้อ 1 ได้ และสามารถนำเรื่องของลูกค้าไปตอบในข้อ 6-8 ได้ ในเรื่องของ output นั้น ในเรื่องของการจัดกลุ่มลูกค้าต่างๆ ตั้งแต่เริ่มการเป็นนักเรียน นักศึกษา และ คนที่จบไปแล้ว มีการจัดกกลุ่มได้ ในเรื่องของ sipoc model พิจารณาจัดทำ spec ใหม่ ต้อง review การตอบคำถามในข้อ 1 ใหม่ ข้อ 2 เรื่องวิสัยทัศน์ core process มี 3 เรื่อง แต่ core process มี 3 เรื่อง อันไหนกันแน่ ที่จะถูกต้องขาดเรื่องการจัดการศิลป วัฒนธรรม ดังนั้นอาจต้องกลับไปปรับเรื่อง core processes ในข้อ 1 หรืออาจไปปรับให้เป็น support process ซึงต้องสอดรับกับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย ข้อ 3-5 มีการสำรวจความพึงพอใจ และมีการประเมินในเรื่องของ HR ค่อนข้างดี ข้อ 4 เพิ่มเติมเรื่อง core competency ขององค์กรที่โดดเด่น ข้อ 5 แยก 3 ด้าน ตาม core processes ซึ่งดำเนินการได้ดี และจำแนกว่ากฎหมายเรื่องใด เกี่ยวข้องกับกระบวนการใดบ้าง จะมีความชัดเจนมากขึ้น เรื่องธรรมาภิบาลควรอธิบานเรื่องของการตรวจสอบจากภายนอกและภายใน และเรื่องการจัดทำผังโครงสร้างที่ชัดเจน เอาข้อมูลจากข้อ 1 มาใช้ในการจำแนกผู้รับบริการ ต้องทำข้อ 1 มาใช้ในการจัดการข้อนี้ ในเรื่องของบุคลากรภายในตัดออก ไม่เกี่ยวข้อง Comment จากทีมประเมิน ผลิตภัณฑ์และบริการ มีการตอบย่อยเกินไป การตอบไม่ใช่ในคู่มิระเบียบ ต้องเป็นกลไก ในการจัดการมากกว่า ต้องร่างภาพกลไกทั้งหมดก่อน จะต้องมีการร่าง processes ของกระบวนการต่างๆ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ นั้นต้องสอดรับกับพันธกิจแต่ละพันธกิจ จะรับทราบงานใหญ่ และค่อยกระจายออกเป็นย่อย จะทำให้เห็นความเชื่อมโยงและสามารถจัดการได้ ในเรื่องของหลักสูตร ลูกค้าหลักสูตรต่างๆ คือ คณะ หรือ partners ก็ได้ ในเรือ่งของลูกค้านั้นการบริการของนักศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศสามารถจัลกลุ่มได้ เพื่อจัดแนวทางในการให้บริการ ข้อ 7-9 การได้มาของความต้องการความคาดหวังต้องมาอย่างมีหลักก่ารและเป็นวิธีการที่ยอมรับได้ ไม่สามรถใช้วิธีการคัดเดาได้ โดยอาจต้องทำการหาข้อมูล ความต้องการความคาดหวังของแต่ละคณะน่าจะมีประสิทธิภาพมากกว่า ทีมีเบาไป ในเรื่องของกลไกการสื่อสาร มองหาคุณภาพจากการสื่อสาร และประสิทธิภาพในการสื่อสาร สร้างความสัมพันธ์ กลไกการสื่อสาร การสร้างสัมพันธ์ที่ดีเป็นอย่างไร ในเรื่องของการสร้างนวัตกรรมจากการสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ต่างๆ กับหน่วยงานต่างๆ ที่เราเกี่ยวข้อง การคบหาและสามารถนำเราไปสู่การพัฒนาอย่างไร ในเรื่องของผู้ทรงคุณณวุฒิน่าจะเป็นเรื่องคู่ค้า มากกว่า การใช้อุปกรณ์ สถานที่ร่วมกัน คณะต่างๆ น่าจะเป็นเรื่องของคู่ความร่วมมือ คณะต่างๆ ในแต่ละกระบวนการบางครั้งเป็นลูกค้า บางครั้งเป็นคู่ความร่วมมือ เป็นการบริหารจัดการกระบวนการ เช่น เรื่องการพัฒนาหลักสูตร การเป็น partner มีทั้งมหาวิทยาลัยภายนอก ของคณะ และเรื่องของการจัดการในเรื่องของการจัดการระหว่างประเทศด้วย ควรจะมีกระบวนการในการสร้างความพร่อมของนักศึกษา ในเรื่องของผู้ใช้นักศึกษา เราสามารถให้มาเป็น partner ได้ การออกแบบหลักสูตรการศึกษานั้นจะต้องดูทิศทาง แนวทางในการพัฒนาหลักสูตร รวมถึงการพัฒนานักศึกษา เนื่องจากมีภาระงานที่มาก ดังนั้นต้องกำหนดภาระงานออกมาทั้งหมดและกำหนดเกณฑ์ เพื่อใช้ในการเลือกกิจกรรม หรือภาะงานที่สำคัญ ข้อ 10-12 เรื่องของการทำ BM ยังไม่มีการดำเนินการ อยู่ระหว่างการพิจารณา แต่ต้องกำหนด scope ในเรื่องของการเปรียบเทียบ ในเรื่องของการเทียบต้องกำหนดในเรื่องที่เราต้องการพัฒนาและยกระดับ ข้อ 13 ในเรื่องของความท้าทายและความได้เปรียบ มีการตอบที่ชัดเจน แต่ยังไม่มีการชี้แจงในเรื่องของสิ่งทึ่จะดำเนินการเพื่อเอาชนะความท้าทาย เป็นเทอมด้านกลยุทธ์ การตอบ how ในการเอาชนะความท้าทาย และ การได้เปรียบ เช่น มีอาจารย์ที่หลากหลาย ต้องตอบว่า เรามีแล้วเราจะดำเนินการต่ออย่างไร เพื่อให้เกิดความได้เปรียบ ในเรื่องของความท้าทายนั้น เรื่องของคู่แข่งทุกวันนี้มีความรุนแรงมาก ต้องมีการกำหนด และทราบสถานะของคู่แข่ง ที่รุนแรงมาก ข้อ 14 ในเรื่องของการใช้เครื่องมือต่างๆ นั้น ท่านต้องใช้เครื่องมือนี้ เพราะอะไร ทำไปทำไม มีประโยชน์อย่างไร การตอบตรง ตอบถูกต้อง เพื่อนำไปใช้ในการสร้างความเชื่อมโยงต่อไป ครัง้นี้ไม่ใช่การทำ QA

ประเด็น(ระดับกระบวนการ) Process Key factor คำถาม (2) ทิศทางเป้าหมายขององค์กร และหน่วยงาน (Process Owner) ตารางที่ 2 ประเด็น(ระดับกระบวนการ) รายละเอียด 2.1 วิสัยทัศน์(ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) วิสัยทัศน์ของหน่วยงานตนองที่สังกัด ที่สอดรับกับของวิสัยทัศน์ของคณะ สำนัก 2.2 พันธกิจและเป้าหมาย (ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) พันธกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่เลือกมาพิจารณา 2.3 เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์ (ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) ประเด็นต้องสอดคล้องตามยุทธศสตร์ของคณะ สำนัก โดยพิจารณาเลือกยุทธศาสตร์ที่สำคัญที่กระบวนการเราเกี่ยวข้องและค้นหาเป้าหมายที่เกี่ยวข้องในระดับคณะ สำนัก 2.5 ค่านิยม (ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) ค่านิยมของกลุ่มงานเรา หรือ ของ หน่วยงาน 2.6 วัฒนธรรม (ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) วัฒนธรรมของกลุ่มงานเรา หรือ ของหน่วยงาน 2.7 Core Competency (ขององค์กรและหน่วยงาน ถ้ามี) สมรรถนะหลักของกลุ่มงาน เป็นเรื่องสมรรถนะหลักของหน่วยงานที่เกี่ยวกับกระบวนการ ไม่ใช่ของแต่ละบุคคล จุดประสงค์นั้นสอดรับกับพันธกิจที่ได้รับมา อะไรคือวัฒนธรรมคือการคิดบวกทำ อะไรคือค่านิยมคือหลักคิด ต่อไปจะเกิดการกระทำเอง โดยทั่วไปมักอ้างถึงว่าจะมีพฤติกรรมอะไรบ้าง บางครั้งที่ทั้งหลักคิด ปรัชญา ปณิธาน บางครั้งมันเกิดความฟุ่มเฟือย วิสัยทัศน์ บางครั้งไม่มีการกำหนด ทิศทาง กรอบเวลา และ แผนเพื่อไปให้บรรลุผล

Process Key factor คำถาม (3) ข้อมูลบุคลากรของ Process Owner Team หมายเหตุ : พิจารณาบุคลากรของกระบวนการเท่านั้น ตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.2 อายุงาน จำนวน % อายุพนักงาน จำนวน % early break even ที่อายุ 57 จะคุ้ม

Process Key factor คำถาม (3) ระดับกระบวนการ เพศ จำนวน % ชาย หญิง ตารางที่ 3.3 เพศ จำนวน % ชาย หญิง early break even ที่อายุ 57 จะคุ้ม

จำนวนหรือเปอร์เซ็นต์ Process Key factor คำถาม (3) ระดับกระบวนการ ตารางที่ 3.4 กลุ่มบุคลากร ระดับการศึกษา จำนวนหรือเปอร์เซ็นต์ บางแห่งแบ่งเป็นระดับบริหาร จัดการ หัวหน้างาน ปฏิบัติการ ประจำ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ถ้าไม่ได้แบ่งเพื่อการจัดการ ไม่ใช่การตอบข้อนี้

กลุ่มบุคลากรที่ตอบใน 3.4 ให้สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ Process Key factor คำถาม (3) ระดับกระบวนการ ตารางที่ 3.5 กลุ่มบุคลากร ความต้องการ ความคาดหวัง และปัจจัยความผูกพัน กลุ่มบุคลากรที่ตอบใน 3.4 ให้สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ผูกพันหมายถึงมุ่งมั่นทุ่มเทต่อความสำเร็จของหน่วยงาน มานะ พากเพียร ทุ่มเททั้งกายและใจ

สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ Process Key factor คำถาม (3) ระดับกระบวนการ ตารางที่ 3.6 กลุ่มบุคลากร สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ ข้อกำหนดพิเศษ ด้านสุขภาพและ ความปลอดภัย

รายละเอียดของกระบวนการ Process Key factor คำถาม (4) ตารางที่ 4 ทรัพยากรของกระบวนการที่สำคัญ ประเด็น รายละเอียดของกระบวนการ อาคาร สถานที่ ที่สำคัญ เทคโนโลยี, Know how, Hardware, Software, Methodology ที่สำคัญ Input ที่สำคัญ / หลักการและหลักคิดที่สำคัญ /ประสบการณ์ / ทฤษฎี / Best practice (สามารถสืบค้นจากการทำงานที่ผ่านมา) เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สำคัญ ห โครงสร้างงบประมาณ รายได้ รายจ่าย ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วยการทำงาน รวมถึง รายได้หลัก ค่าใช้จ่ายหลัก (ตอบเท่าที่มีข้อมูล) เพื่อเป็นข้อมูลสู่การสร้าง productivity และลดต้นทุนของหน่วยงาน

Process Key factor คำถาม (5) ตารางที่ 5 กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อกำหนดและข้อบังคับ ข้อตกลง มาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพ ทั้งจากภายในและภายนอก (ลูกค้า คู่ค้า คู่ความร่วมมือ ชุมชน สังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่สำคัญ) ที่มีผลต่อการจัดการกระบวนการ ตารางที่ 5 กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพ ฯลฯ เนื้อหา สาระ ที่สำคัญ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง มีผลกระทบโดยตรง (sub process/step) หน่วยงาน ที่กำกับดูแล (ภายนอกหน่วยงาน) เช่น TQF กฎระเบียบต่างๆ มาตรฐานต่างๆ ของ สกอ. สกว. สรุปสาระที่สำคัญ Step ที่เกี่ยวข้อง ของกระบวนเรา หน่วยงานภายนอกที่กำกับดูแล ข้อนี้เน้นเรื่องที่กกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น จึงมีการกำหนดทำ matrix ในเรื่องของราบการกระบวนการและข้อกำหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อสามารถในการบริหารัดการกรระบวนการ จะต้องมีการเชื่อมโยงระหว่างผังโครงสร้างขององค์กร และผังกระบวนงานขององค์กร ว่าสอดรับกันหรือไม่ ครบหรือไม่

Process Key factor คำถาม (6) โครงสร้างการกำกับดูแลให้มีการประพฤติตนให้เป็นพลเมืองที่ดี ตารางที่ 6.1 แนบผังโครงสร้างองค์กร(หน่วยงาน) และแสดง หน่วยกำกับดูแลทั้งจากภายนอกและภายในหน่วยงาน การตอบข้อ 1-6 คือการตอบ input ขององค์กรทั้งหมด โครงสร้างองค์กรของกระบวนการ มีการประเมิน การตรวจสอบ การกำกับ จากภายในและภายนอก และกระบวนการ รายงานทั้งหมด

Process Key factor คำถาม (7) กลุ่มลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย คือใครบ้าง แต่ละกลุ่มมีความต้องการและความคาดหวัง อะไรบ้างเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการของเรา ตารางที่ 7.1 กลุ่มลูกค้า (C) ผลิตภัณฑ์/ บริการที่ส่งมอบ ความต้องการและความ คาดหวังหลัก (Key Requirements)/ Need(ขาดไม่ได้) ความต้องการและความคาดหวังเฉพาะ (Special Requirements)/ Want (ได้จะดี ไม่ได้ไม่เป็นไร) 1. 2 3.

Process Key factor คำถาม (7) กลุ่มลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย คือใครบ้าง แต่ละกลุ่มมีความต้องการและความคาดหวัง อะไรบ้างเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการของเรา ตารางที่ 7.2 กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (S) อาทิ ผู้ส่งมอบ คู่ค้า คู่ความร่วมมือ ผู้กำกับดูแล ชุมชน สังคม รัฐบาล ผู้ถือหุ้น ภาครัฐ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์/บริการที่ส่งมอบ ความต้องการและความคาดหวัง(Need and Want) 1. 2. 3. 4.

กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Process Key factor คำถาม (8) ตารางที่ 8 กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดหรือบทบาทที่สำคัญต่อการทำงานร่วมกันต่อ Work system & Supply chain Stakeholder นำส่ง Input ที่สำคัญ อะไรบ้าง ข้อตกลงที่กำหนดตาม MOU สัญญาจ้าง ข้อตกลงต่างๆ

การจัดการด้านความสัมพันธ์ บทบาทในการสร้างนวัตกรรมร่วมกัน Process Key factor คำถาม (9) ตารางที่ 9.1 กลุ่มลูกค้า (C) กลไกในการสื่อสาร ระหว่างกัน การจัดการด้านความสัมพันธ์ บทบาทในการสร้างนวัตกรรมร่วมกัน Customer 1 กลไกวิธีในการสื่อสารทั่วไปในการทำงาน กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ นวัตกรรมใหม่ หรือ Idea ใหม่ ธุรกรรมใหม่ ที่ได้จากการจัดการด้านความสัมพันธ์ Customer 2 การยกระดับการเปลี่ยนแปลงนั้น ยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรม

Process Key factor คำถาม (9) ตารางที่ 9.2 กลไกในการสื่อสาร ระหว่างกัน การจัดการด้านความสัมพันธ์ บทบาทในการสร้างนวัตกรรมร่วมกัน Stakeholder 1 กลไกวิธีในการสื่อสารทั่วไปในการทำงาน กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ นวัตกรรมใหม่ หรือ Idea ใหม่ ธุรกรรมใหม่ ที่ได้จากการจัดการด้านความสัมพันธ์ Stakeholder 2 Stakeholder 3 การยกระดับการเปลี่ยนแปลงนั้น ยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรม

Process Key factor คำถาม (10) ลำดับในการเทียบเคียงของกระบวนการ เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง คู่เทียบ ปัจจัยที่ทำให้กระบวนการประสบความสำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับ คู่แข่งขัน คู่เทียบ คืออะไร? ตารางที่ 10. ประเภท การแข่งขัน(ในองค์กร/ต่างองค์กร) คู่แข่ง (คู่เทียบ) ประเด็น การเทียบเคียง ผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับคู่เทียบ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประสบความสำเร็จ หน่วยงานราชการ คณะอื่น ภาควิชาอื่น สำนักอื่น เทียบเคียง Step ใด / Output ใด / Outcome ใด ถ้ายังไม่ได้ทำไม่ต้องตอบ

การเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อสภาพการเทียบเคียง ปัจจัยภายนอกหน่วยงาน Process Key factor คำถาม (11) ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและมีผลต่อสถานะการแข่งขัน ของกระบวนการ หรือ หน่วยงาน คืออะไรบ้าง? ตารางที่ 11 ปัจจัยแต่ละด้าน การเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อสภาพการเทียบเคียง ปัจจัยภายในหน่วยงาน วิเคราะห์ปัจจัยภายในของกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อการแข่งขัน การเทียบเคียงของกระบวนการ / พิจารณา Internal Critical Factor หรือประเด็นที่หากเกิดการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการแข่งขัน ปัจจัยภายนอกหน่วยงาน วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกของกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อการแข่งขัน การเทียบเคียงของกระบวนการ / พิจารณา External Critical Factor หรือประเด็นที่หากเกิดการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการแข่งขัน

Process Key factor คำถาม (12) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเชิงแข่งขัน มีแหล่งข้อมูลอยู่ที่ใดบ้าง ตารางที่ 12 ประเด็น การแข่งขัน/เทียบเคียง คู่แข่ง (คู่เทียบ) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเชิงแข่งขัน ข้อจำกัดในการได้มาซึ่งข้อมูล Step / output / Outcome ความเห็นเพิ่มเติม (หากมี) ต้องพิจารณาในเรื่องประเด็นที่สัญ มิใช่เรืองของการเอาชนะ ต้องเลือกตัวที่ประสงค์จะปรับปรุงหรือเปรียบเทียบ ต้องพิจารณาในเรื่องของ approach and process ในเรื่องของการ benchmarking มิใช่การประเมินไปทุกเรื่อง พิจารณาเรืองนักศึกษาได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ

สถานการณ์ด้านความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (จุดอ่อน/อุปสรรค) ของกระบวนการ Process Key factor คำถาม (13) ตารางที่ 13.1 ประเด็น สถานการณ์ด้านความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (จุดอ่อน/อุปสรรค) ของกระบวนการ ด้านกระบวนการทำงาน (มีผลต่อ processes) จุดอ่อนและอุปสรรค ของกระบวนการ ด้านทรัพยากรบุคคล (มีผลต่อ HR Processes)

สถานการณ์ด้านความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ (จุดแข็ง/โอกาส) Process Key factor คำถาม (13) ตารางที่ 13.2 ประเด็น สถานการณ์ด้านความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ (จุดแข็ง/โอกาส) ด้านกระบวนการทำงาน (มีผลต่อ processes) จุดแข็งเ โอกาส ของกระบวนการ ด้านทรัพยากรบุคคล (มีผลต่อ HR Processes)

เครื่องมือและวิธีการ Process Key factor คำถาม (14) คำตอบในภาพกระบวนการ ตารางที่ 14 ประเด็น เครื่องมือและวิธีการ นวัตกรรมที่ได้ การติดตามประเมินผล รูปแบบการประชุม ติดตามรายงาน มีเรื่อง มี idea ใหม่อะไรบ้าง การปรับปรุงแก้ไข 5s PDCA Lean Kaizen การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM CoP AAR Visit