ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
ด้วยสำนักงานอัยการสูงสุดได้จัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน ของบุคลากรสำนักงานอัยการสูงสุด ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๕ โดย แบ่งการดำเนินกิจกรรม เป็น.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำหรับอบรมบุคลากร และสอนนักเรียน
การออกแบบและเทคโนโลยี
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
สีและเครื่องหมายความปลอดภัย
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
“ หนึ่งร้อยสิบห้าปีที่ควรเปลี่ยนแปลง ” จากคณะทำงานฝ่ายสื่อสารฯ สชป
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
อบรมความปลอดภัยในการทำงาน
# ความปลอดภัยในการทำงาน #
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่าง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คือ การทำงานที่ไม่ทำให้เกิดอุบัติเหตุหรืออันตรายหรือเดือดร้อนเนื่องจากการปฏิบัติงาน

กฎแห่งความปลอดภัย 1. แต่งกายให้รัดกุม

2. ไม่ควรหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน

3.ไม่ควรดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบัติงาน

4. ควรตรวจสภาพเครื่องมือก่อนนำไปใช้งาน

5.ควรปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทสะดวก 5.ควรปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทสะดวก

6. ควรศึกษาระบบการทำงานของเครื่องจักร ชนิดนั้น ๆ ให้เข้าใจก่อนปฏิบัติงาน

7. หากเครื่องจักรชำรุด ควรเขียนป้ายบอกกำกับไว้

8. ควรสวมหมวกนิรภัยในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

9. หากน้ำมันหกลงพื้นควรทำความสะอาดทันที

10.เครื่องจักรที่มีการทำงานเคลื่อนไหว ด้วยความเร็วสูง ควรมีอุปกรณ์นิรภัยป้องกัน

เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety sign) หมวดหมู่ของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety sign categories

1. เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ สมอ. กำหนดมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์นั้นไว้แล้วซึ่งผู้ผลิตสามารถยื่นขอการรับรองคุณภาพโดยสมัครใจ (มาตรฐานทั่วไป) เพื่อการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดในมาตรฐานและหลัก ประกันให้กับผู้บริโภคหรือผู้ซื้อว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณภาพ มีความปลอดภัยคุ้มค่า และเหมาะสมกับราคา เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารวัสดุก่อสร้าง วัสดุสำนักงาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

2. เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน (มาตรฐานบังคับ) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของผู้ บริโภคและป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดต่อเศรษฐกิจและ สังคม โดยส่วนรวม โดยกฎหมายบังคับผู้ผลิต ผู้นำเข้าและผู้ จำหน่าย จะต้องผลิต นำเข้า และจำหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นไป ตามมาตรฐานแล้วเท่านั้น

3. เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีความปลอดภัย ในการใช้งาน ซึ่งสำนักงานฯ จะกำหนดมาตรฐานโดยเน้นเฉพาะเรื่องความปลอดภัยเป็นสำคัญเพื่อให้การคุ้มครองแก่ ผู้บริโภคด้านความปลอดภัยในการใช้งาน เช่น เตารีด พัดลมไฟฟ้า เป็นต้น เครื่องหมายที่มีทั้งแบบบังคับ และไม่บังคับ หากเป็นแบบ บังคับก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่ต้องทำผลิตภัณฑ์ให้ได้ตาม มาตรฐานที่ กำหนดทั้งผู้ทำ ผู้นำเข้า และผู้จำหน่าย

4. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติใน การรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นการประหยัดน้ำและการไม่ก่อให้เกิด มลพิษในอากาศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และการ รักษาสิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศ เช่น เครื่องซักผ้า ประหยัดน้ำ ตู้เย็นที่ไม่ใช้สาร CFCเป็นต้น เครื่องหมายนี้มีทั้งแบบบังคับ และไม่บังคับหากเป็นแบบบังคับก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่ ต้อง ทำผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด ทั้งผู้ทำ ผู้นำเข้า และ ผู้จำหน่าย

5. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติของความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่สามารถทำงานร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นหรือใช้พร้อมกันได้และไม่ส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ในระดับหนึ่ง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร เครื่องรับ-ส่งวิทยุและเครื่องมือทางการแพทย์ เป็นต้นเครื่องหมายนี้มีทั้งแบบบังคับ และ ไม่บังคับหากเป็นมาตรฐานบังคับ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายจะต้องผลิตนำเข้า และจำหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาตรฐานเท่านั้น

หมวดหมู่ของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety sign categories) ในประเทศไทยใช้มาตรฐาน มอก. โดยแบ่งประเภทของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้    1. เครื่องหมายห้าม (Prohibition sign)  2. เครื่องหมายบังคับ (Mandatory sign)  3. เครื่องหมายเตือน (Warning sign)  4. เครื่องหมายแสดงภาวะปลอดภัย (No danger sign)  5. เครื่องหมายแสดงอุปกรณ์เกี่ยวข้องกับอัคคีภัย (Fire protection equipment sign)  6. เครื่องหมายข้อมูลทั่วไป (General Information sign)

แต่ละประเภทจะมี การกำหนดสีเพื่อความปลอดภัย, รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย, เครื่องหมายเสริม และขนาดของเครื่องหมายและตัวอักษรของป้ายสัญลักษณ์ เพื่อความปลอดภัยที่ใช้สื่อความหมายต่างๆ แทนการใช้ข้อความ โดยมีสาระสำคัญดังนี้        1. สีเพื่อความปลอดภัยและสีตัด        2. รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย        3. เครื่องหมายเสริม        4. ขนาดของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย        5. ตัวอย่างเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย        6. ข้อแนะนำในการเลือกและการใช้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย

สีและเครื่องหมายความปลอดภัย สีและเครื่องหมายความปลอดภัยนับเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยอีกประเภทหนึ่งที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในสถานประกอบการ หน่วยงานและองค์กรต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ แบ่งเป็นข้อๆ ได้ดังนี้

1. เตือนให้ทราบถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงการห้ามและการบังคับต่างๆ 2. เตือนให้ทราบถึงข้อปฏิบัติในการป้องกันอันตรายและเหตุฉุกเฉิน 3. บอกตำแหน่งที่ตั้งของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น อุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์ปฐมพยาบาล 4. บอกข้อมูลและทิศทางให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้มาเยี่ยมชมสถานที่ได้ทราบ

1. สีเพื่อความปลอดภัย (Safety colours) คือ สีที่กำหนดในการบอกความหมายเพื่อความปลอดภัย

สีตัดและและสีของสัญลักษณ์

2. รูปทรงเรขาคณิตของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย

ตัวอย่างเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย

หมายถึง หยุด สีเพื่อความปลอดภัย นั้นหมายถึงสีที่กำหนดในการสื่อความหมาย เพื่อความปลอดภัย โดยกำหนด สี สีตัด ความหมายและตัวอย่างการใช้งาน - เครื่องหมายหยุด - เครื่องหมายหยุดฉุกเฉิน เครื่องหมายห้าม สีตัด= สีขาว

หมายถึง บังคับให้ต้องปฏิบัติ - บังคับให้ต้องสวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล - เครื่องหมายบังคับ สีตัด คือ สีขาว

หมายถึง ระวัง, ชี้บ่งว่ามีอันตราย - มีอันตราย - ชี้บ่งถึงเขตอันตราย - ทางผ่านมีอันตราย เครื่องกีดขวาง - เครื่องหมายเตือน สีตัด คือ สีดำ

หมายถึง ภาวะปลอดภัย - ทางหนี - ทางออกฉุกเฉิน - ฝักบัวชำระล้างฉุกเฉิน - หน่วยปฐมพยาบาล - หน่วยกู้ภัย - เครื่องหมายสารนิเทศ แสดงภาวะปลอดภัย สีตัด คือ สีขาว

อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน บทที่ 2 อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน

อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจเป็นผลให้เกิดความเสียหายแก่คน และทรัพย์สินและมีอัตรารุนแรงแตกต่างกันไปตามชนิดของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น

สภาพที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Conditions) สาเหตุของอุบัติเหตุ (Causes of Accidents) การกระทำที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Acts) สภาพที่ไม่ปลอดภัย(Unsafe Conditions) ภัยธรรมชาติ (Natural Phenomena) อุบัติภัย(Accidents) ทรัพย์สินเสียหาย (Damage of Properties) บุคคลบาดเจ็บ (Injuries & Death )

สาเหตุของอุบัติเหตุ 1. เกิดจากตัวบุคคลเอง 2. เกิดจากเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุต่าง ๆ 3. เกิดจากสภาพแวดล้อม 4. เกิดจากการจัดระบบงาน

สาเหตุและความสูญเสีย 1. การกระทำที่ไม่ปลอดภัย 2. สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย 1. ความสูญเสียโดยตรง 2. ความสูญเสียทางอ้อม

ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ บุคคล ทรัพย์สิน บาดเจ็บ เสียชีวิต เจ็บป่วย เครื่องจักรกล อาคารสถานที่ วัตถุดิบ สินค้าที่ผลิต บาดเจ็บแล้วรักษาได้ พิการตลอดชีวิต เจ็บป่วยแล้วรักษาได้ เจ็บป่วยแล้วต้องสูญเสีย เสียชีวิตทันที เสียชีวิตภายหลัง

วิธีป้องกันอุบัติเหตุ 1.ออกแบบเครื่องจักรกลให้ถูกหลัก 2.การศึกษา อบรม แนะนำพนักงาน 3. การออกกฎหมายข้อบังคับในการปฏิบัติงาน 1. วิธีการออกกฎโรงงาน 2. วิธีการจัดทำมาตรฐาน 3. วิธีตรวจสอบ 4. วิธีการวิจัยทางเทคนิค 5. วิธีการวิจัยทางการแพทย์ 6. วิธีการวิจัยทางจิตศาสตร์ 7. วิธีการวิจัยทางสถิติ 8. วิธีการให้การศึกษา 9. วิธีการฝึกอบรม 10. วิธีการเชิญชวน 11. วิธีการเอาประกันภัย 12. วิธีการวัดความปลอดภัยในการทำงานของแต่ละบุคคล

วิธีป้องกันอุบัติเหตุ ควบคุมสภาพแวดล้อม 1. การป้องกันอัคคีภัย 2. อุปกรณ์เกี่ยวกับไฟฟ้าและแก๊ส 3. ทางเดินในโรงงาน 4. การระบายอากาศ 5. ที่เก็บวัสดุอุปกรณ์ 6. เครื่องป้องกันอุบัติภัย 7. สิ่งแวดล้อมในการทำงาน 8.สารพิษ 9. การปฐมพยาบาลและการรักษา ควบคุมการปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย 1. การคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน 2. จัดทำป้ายประกาศและเตือนใจ 3. ให้การศึกษาและฝึกอบรม 4. เสริมแรงทางบวก เช่น สร้างแรงจูงใจ 5. ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญ

5 ส หรือ 5S คืออะไร ? 5ส คือ แนวทางที่ใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในที่ทำงานให้ดีขึ้นในวงการการผลิตและวงการงานบริการเป็นต้น โดยการปฏิบัติตามหลัก 5ส ที่แปลมาจากภาษาญี่ปุ่น โดยในญี่ปุ่นเรียกกันว่า 5S ซึ่งได้แก่ สะสาง (ญี่ปุ่น: 整理 seiri ?) คือ การแยกของที่ต้องการ ออกจากของที่ไม่ต้องการ และขจัดของที่ไม่ต้องการทิ้งไป สะดวก (ญี่ปุ่น: 整頓 seiton ?) คือ การจัดวางสิ่งของต่างๆ ในที่ทำงานให้เป็นระเบียบ เพื่อความสะดวกในการใช้งานและปลอดภัย สะอาด (ญี่ปุ่น: 清掃 seiso ?) คือ การทำความสะอาด (ปัด กวาด เช็ด ถู) เครื่องจักร อุปกรณ์ และ สถานที่ทำงาน สุขลักษณะ (ญี่ปุ่น: 清潔 seiketsu ?) คือ สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสุขลักษณะ และรักษาให้ดี ตลอดไป สร้างนิสัย (ญี่ปุ่น: 躾 shitsuke ?) คือ การอบรม สร้างนิสัย ในการปฏิบัติงานตามระเบียบ วินัยข้อบังคับอย่างเคร่งครัด

มาตรการความปลอดภัย 1. จัดตั้งหน่วยงานเพื่อความรับผิดชอบ 2. จัดตั้งคณะกรรมการมาตรการหรือโปรแกรมความปลอดภัย 3. จัดเครื่องมือป้องกันอุบัติเหตุ 4. การจ่ายค่าตอบแทน 5. ความร่วมมือจากฝ่ายบริหาร 6. จัดโครงการเพื่อศึกษาหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอุบัติเหตุ 7. จัดการฝึกอบรม

จะได้อะไรบ้างจากการดำเนินกิจกรรม 5 ส ? สถานที่ทำงานสะอาด และเป็นระเบียบช่วยให้ 1. ประสิทธิภาพในการงานสูงขึ้น 2. คุณภาพดีขึ้น 3. ต้นทุนลดลง 4. มั่นใจว่าส่งมอบงานได้ทันเวลา 5. ความปลอดภัยในการทำงานสูงขึ้น 6. กำลังใจและทัศนคติของพนักงานดีขึ้น