หน้าที่พลเมืองที่ดี และ ค่านิยมพื้นฐานของสังคมไทย
ความหมายของคำว่าพลเมืองและคำที่ใกล้เคียง Citizen A legally recognized subject or national of a state or commonwealth, either native or naturalized Citizenship is the status of a person recognized under the custom or law of a state that bestows on that person (called a citizen) the rights and the duties of citizenship. Nationality In a number of countries, nationality is legally a distinct concept from citizenship, or nationality is a necessary but not sufficient condition to exercise full political rights within a state or other polity. Civic Education
Civic Education Civic Education (พลเมืองศึกษา) คือ การศึกษาเพื่อการเป็นพลเมืองดี เป็นการจัดการการศึกษาเพื่อให้พลเมืองนั้นเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศและเป็นพลโลกที่ดีด้วย พลเมืองศึกษาจึงช่วยในการหล่อหลอมคุณภาพของคน สร้างเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น เห็นแก่ส่วนรวมเพื่อการอยู่ร่วมกันอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขเป็นเป้าหมายสำคัญ
Civic Education พัฒนาการของพลเมืองศึกษาของไทยแบ่งเป็น 4 ระยะคือ ก่อน ระยะก่อนทันสมัย ก่อน 2413 ก่อน - รัชกาลที่ 5 มีวัดเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ระยะเริ่มต้นของความทันสมัย ปี 2413 - 2475 รัชกาลที่ 5 -รัชกาลที่ 7 การเริ่มต้นของการจัดการศึกษา เป็นระบบแยกโรงเรียนออกจากวัด มีการสอนวิชา “จรรยา” ระยะความทันสมัย ปี 2475 - 2520 รัชกาลที่ 7 - เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ การจัดการศึกษาตามองค์ 4 ของการศึกษา หลักสูตรได้เปลี่ยนวิชา “จรรยา” เป็นวิชา “หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม” ระยะความทันสมัยและ การพัฒนาการศึกษาของชาติ ปี 2421 -ปัจจุบัน เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ -ปัจจุบัน มีหลักสูตรใหม่ทั้ง ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ปัจจัยที่กำหนดความเป็นพลเมือง Determining factors A person can be a citizen for several reasons. Usually citizenship of the place of birth is automatic; in other cases an application may be required. Parents are citizens Born within a country Marriage to a citizen Naturalization
ประวัติความเป็นมาของความเป็นพลเมือง History of citizenship Polis Many thinkers point to the concept of citizenship beginning in the early city-states of ancient Greece In the Roman Empire, citizenship expanded from small scale communities to the entire empire Roman ideas European Middle Ages, citizenship was usually associated with cities and towns, Nobility used to have privileges above commoners, but the French Revolution and other revolutions revoked these privileges Middle Ages People transitioned from being subjects of a king or queen to being citizens of a city and later to a nation. Citizenship became an idealized, almost abstract, concept Renaissance The modern idea of citizenship still respects the idea of political participation, but it is usually done through "elaborate systems of political representation at a distance" such as representative democracy Modern times
สองมุมมองที่แตกต่างของความเป็นพลเมือง Two contrasting views of citizenship
คุณสมบัติของ "พลเมือง" ในระบอบประชาธิปไตย 6 ประการ คุณสมบัติของ "พลเมือง" ในระบอบประชาธิปไตย 6 ประการ มีอิสรภาพ (liberty) และสามารถพึ่งตนเองได้ (independent) เคารพสิทธิผู้อื่น ไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น เคารพความแตกต่าง มีทักษะในการฟังและยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างจากตนเอง เคารพหลักความเสมอภาค เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่นและเห็นคนเท่าเทียมกัน เคารพกติกา เคารพกฎหมาย ใช้กติกาในการแก้ปัญหา ไม่ใช้กำลัง และไม่ยอมรับผลของการละเมิดกฎหมาย รับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักว่าตนเองเป็นสวนหนึ่งของสังคมกระตือรือร้นที่จะรับผิดชอบและร่วมแก้ไขปัญหาสังคมโดยเริ่มต้นที่ตนเอง
แนวทางค่านิยมพื้นฐานในสังคมไทย Social Value Orientations Social psychology, social value orientation (SVO) is a person's preference about how to allocate resources between the self and another person. SVO corresponds to how much weight a person attaches to the welfare of others in relation to the own. Since people are assumed to vary in the weight they attach to other peoples' outcomes in relation to the own, SVO is an individual difference variable. The general concept underlying SVO has become widely studied in a variety of different scientific disciplines, such as economics, sociology, and biology under a multitude of different names.
Historical background ประวัติความเป็นมา The SVO construct has its history in the study of interdependent decision making, i.e. strategic interactions between two or more people. The advent of Game theory in the 1940s provided a formal language for describing and analyzing situations of interdependence based on utility theory. As a simplifying assumption for analyzing strategic interactions, it was generally presumed that people only consider their own outcomes when making decisions in interdependent situations, rather than taking into account the interaction partners' outcomes as well. However, the study of human behavior in social dilemma situations.
ค่านิยมของสังคม Social Value คลักฮอห์น (Clyde Kluckhohn) นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมชาวอเมริกัน ค่านิยม คือ แนวความคิดทั้งที่เห็นได้เด่นชัดและไม่เด่นชัด ซึ่งความคิดดังกล่าวมีอิทธิพลให้บุคคลกระทำการอันใดอันหนึ่งจากวิธีการที่มีอยู่หลายๆ วิธี สเมล์เซอร์ (Neil Joseph Smelser) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกัน ให้ความหมายคํานิยมว่า“เป็นสิ่งที่บอกคุณค่าของคนอย่างกว้างๆ ว่าจุดหมายอะไรบ้างในชีวิตเป็นสิ่งที่ปรารถนา”ค่านิยมในความหมายของ Smelser จึงเป็นเครื่องชี้แนวทางปฏิบัติอย่างกว้างๆ ไม่เฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใด
ค่านิยมพื้นฐาน Edward T.Hall ตนเองเห็นค่าของคนเองและเห็นค่าของผู้อื่น Self Values Values of Others Edward T.Hall มีความสามารถที่จะยอมรับตนเอง คนอื่นมีค่าเท่ากับตนเอง ตนเองเห็นค่าของคนเองและเห็นค่าของผู้อื่น
ทฤษฎีค่านิยม ทฤษฎีค่านิยมของสแปรงเกอร์ (Spranger) The Theoretical, whose dominant interest is the discovery of truth The Economic, who is interested in what is useful The Aesthetic, whose highest value is form and harmony The Social, whose highest value is love of people The Political, whose interest is primarily in power The Religious, whose highest value is unity
ทฤษฎีค่านิยม ค่านิยม หมายถึง ความเชื่ออย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะถาวรเชื่อว่าวิถีปฏิบัติบางอย่างหรือเป้าหมายของชีวิตบางอย่างนั้นเป็นสิ่งที่ตัวเองหรือสังคมเห็นดีเห็นชอบ และสมควรที่จะยึดถือปฏิบัติมากกว่าวิธีปฏิบัติหรือเป้าหมายอยํางอื่น จากความหมายนี้จะเห็นได้ว่าคํานิยมนั้นแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ค่านิยมวิถีปฏิบัติ (instrumental values) กับคํานิยมจุดหมายปลายทาง(terminal values) ซึ่งบุคคลย่อมมีค่านิยมทั้งสองประเภทนี้รวมอยู่ด้วยกัน”การที่ Rokeach ให้ความหมายคํานิยมเป็นสองประเภทนี้ได้ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับค่านิยมมีความชัดเจนเข้าใจง่ายขึ้นมากและเป็นประโยชน์ในการสร้างเครื่องมือวัดคํานิยมและจัดกลุ่มคํานิยมเพื่อการวิเคราะห์เป็นอย่างยิ่ง Milton Rokeach
ทฤษฎีค่านิยม ค่านิยมที่เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติเรียกว่า “ค่านิยมวิถีปฏิบัติ ” (instrumental values) ได้แก่ ทะเยอทะยาน (ambitious) ใจกว้าง (broad-minded) ความสามารถ (capable) สนุกสนานร่าเริง (cheerful) สะอาด (clean) กล้า (courageous) สร้างสรรค์ (imaginative) อิสระเสรี (independent) มีสติปัญญา (intellectual ค่านิยมที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินชีวิตเรียกว่า “ค่านิยมจุดหมายปลายทาง”(terminal values)ได้แก่ ชีวิตที่สะดวกสบาย (a comfortable life) ความรู้สึกว่าประสบความสำเร็จ (a sense of accomplishment) โลกที่มีสันติสุข(a world of peace) ความมั่นคงของชาติ (national security) ความสงบสุขทางใจ(pleasure) ความภาคภูมิใจในตนเอง(self–respect) การได้รับการยกย่องในสังคม(social recognition)
ความขัดแย้งเชิงค่านิยม (Value Conflict) ความขัดแย้งเชิงค่านิยม คือ แนวทางการดำเนินชีวิต อุดมการณ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน หรือสภาพสังคมที่ไม่สอดคล้องกับระบบค่านิยมของกลุ่มหรือสังคม ปัญหาสังคมเกิดจากความขัดแย้งเชิงค่านิยม สภาพการณ์ของความขัดแย้งขึ้นอยู่กับประเภทและชนิดของการแข่งขันและการติดต่อกันของกลุ่มต่างๆ ความขัดแย้งเชิงค่านิยมมักจะทำให้มีการแบ่งกลุ่มออกเป็นฝักเป็นฝ่ายและทำให้แต่ละกลุ่มประกาศค่านิยมของตนชัดเจนขึ้นด้วย แนวทางการแก้ไขนั้นอาจทำได้ทั้งการใช้อำนาจล้วนๆการต่อรองแลกเปลี่ยนและการหาทางตกลงแบ่งปันสิ่งมีค่าระหว่างกัน Karl Heinrich Marx
ทฤษฎีโครงสร้างค่านิยม Structure of Values Shalom H. Schwartz สวอร์ตซ เป็นนักจิตวิทยาชาวอิสราเอลและนักวิจัยข้ามวัฒนธรรม เป็นเจ้าของหนังสือที่ชื่อว่า Theory of basic human values
โครงสร้างของค่านิยม ประกอบด้วย ค่านิยมที่สำคัญ 10 ประการ ซึ่งคาดว่า แก่นของค่านิยมที่อาจเป็นสากล ได้แก่ ประการแรก ความเป็นตัวของตัวเอง (Self-direction) เป็นค่านิยมของบุคคลที่แสดงถึงความเป็นอิสระทางความคิด และการกระทำ ประการที่สอง ความกล้าท้าทาย (Stimulation) เป็นค่านิยมเกี่ยวกับความเสี่ยง ความตื่นเต้นท้าทาย ประการที่สาม ความสุข (Hedonism) เป็นค่านิยมของบุคคลที่จะแสวงหาความสุข สนุกสนานให้แก่ตนเอง ประการที่สี่ ความใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement) เป็นค่านิยมเกี่ยวกับความสำเร็จในการกระทำ ประการที่ห้า ความใฝ่อำนาจ (Power) เป็นค่านิยมเกี่ยวกับสถานภาพทางสังคม ความมีอภิสิทธิ์ และความสามารถในการควบคุมบุคคลหรือทรัพยากร
ประการที่หก ความปลอดภัย (Security) เป็นค่านิยมที่แสดงถึงความเป็นอยู่ร่วมกันอย่างสงบ มีความมั่นคงและมีสัมพันธภาพอันดี ประการที่เจ็ด ความคล้อยตาม (Conformity) เป็นสิ่งที่บุคคลเห็นความสำคัญว่าจะต้องทำตามที่ผู้อื่นหรือสังคมเห็นชอบ ประการที่แปด การทำตามแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา (Tradition) ซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากครอบครัวหรือชุมชน ประการที่เก้า ความเป็นกัลยาณมิตร (Benevolence) ซึ่งบุคคลเห็นความสำคัญในการช่วยเหลือเกื้อกูลบุคคลใกล้ชิดตน ประการที่สิบ ความเป็นสากล (Universalism) การที่บุคคลให้ความสำคัญกับสิ่งที่แสดงถึงความอยู่ดีมีสุขของมวลมนุษย์ เช่น ความเสมอภาค ความยุติธรรม
ทฤษฎีกระจ่างค่านิยม (Value Clarification Theory) Values clarification is a technique to help someone relate their feelings and increase their awareness of their own values. ทฤษฎีนี้มีสาระสำคัญคือ การทำค่านิยมให้กระจ่างนั้น คือกระบวนการที่บุคคลสามารถเลือกค่านิยมโดยอาศัยความรู้สึกและการวิเคราะห์ พฤติกรรมว่าจะเลือกแสดงพฤติกรรมอย่างใด เมื่ออยู่ในภาวะที่ต้องเลือกและช่วยในการกำหนดว่า การเลือกพฤติกรรมเช่นนั้นมีเหตุผลหรือไม่ ความกระจ่างของบุคคลมี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1 บุคคลเลือกกระทำอย่างอิสรเสรีไม่มีการบังคับ 2 บุคคลเลือกทางเลือกหลายๆทาง 3 บุคคลเลือกจากการพิจารณาผลของทางเลือกแต่ละทางแล้ว 4 บุคคลมีความยินดี และภูมิใจในการเลือกกระทำสิ่งนั้น 5 บุคคลยืนยันการตัดสินใจเลือกของตนอย่างเปิดเผย 6 บุคคลกระทำตามที่ตนตัดสินใจเลือก และชักชวนผู้อื่น เมื่อมีโอกาส 7 บุคคลกระทำพฤติกรรมนั้นเป็นประจำ แม้นว่าผู้อื่นจะไม่กระทำตาม Sidney Simon Merrill Harmin
รักเกียรติ รักศักดิ์ศรี เทิดทูนสถาบันกษัตริย์รักอิสระ ค่านิยมในสังคมไทย ความมีน้ำใจ ความเป็นเจ้านาย ความกตัญญูกตเวที ชอบความสนุกสนาน ใจใหญ่ ใจนักเลง กล้าได้กล้าเสีย ชอบพนันขันต่อ นิยมความหรูหรา บูชาความดี วัตถุนิยม แสวงหาอำนาจ เชื่อโชคลาง บริโภคนิยม ทำตามกระแสนิยม เน้นระบบอาวุโส ยอมรับชะตาชีวิต ชอบความสนุกสนาน รักเกียรติ รักศักดิ์ศรี เชิดชูปริญญา เทิดทูนสถาบันกษัตริย์รักอิสระ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ บริโภคนิยม ติดศัลยกรรม
ค่านิยมไทย 12 ประการ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย 8. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ 10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่อ อำนาจฝ่ายต่ำ 12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
กิจกรรมวิชาสังคมศึกษา 1 วันอังคารที่ 22 กันยายน 2557 คำชี้แจง: ให้นักศึกษาเลือกอธิบายหัวข้อที่กำหนดให้จำนวน 1 ข้อ ค่านิยมในสังคมไทยในปัจจุบันนั้นถือว่ามีความหลากหลายและมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ซึ่งค่านิยมบางค่านิยมก็เกิดประโยชน์ต่อตัวผู้ยึดถือปฏิบัติและสังคม แต่ก็มีบางค่านิยมที่ก่อผลเสียต่อสังคม ในทัศนคติของนักศึกษามีความคิดเห็นอย่างไรต่อค่านิยมในสังคมไทย จงยกตัวอย่างค่านิยม 1 ตัวอย่างประกอบการอธิบาย (5 คะแนน) พฤติกรรมความเป็นพลเมืองของคนไทยในปัจจุบันเป็นอย่างไร (4.5 คะแนน) การสร้างพลเมืองที่ดีตามระบอบประชาธิปไตยทำได้อย่างไร (4 คะแนน)
ข้อมูลอ้างอิง http://www.research.chula.ac.th/web/cu_online/2548/march13_2.htm (ออนไลน์) งานวิจัยเรื่อง “พลเมืองศึกษาของไทย : นโยบายและการปฏิบัติในโรงเรียน” ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ http://social.obec.go.th/library/document/civic/civic01.pdf http://en.wikipedia.org/wiki/Citizenship http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/citizen http://en.wikipedia.org/wiki/Social_value_orientations http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/Narumon_Intachom/fulltext.pdf http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000006370