Introduction: Parasitology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น”
Advertisements

Phylum Platyhelminthes
พยาธิตัวกลม ( Roundworms).
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008 นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
โครเมี่ยม (Cr).
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ระดับความเสี่ยง (QQR)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
Scene Design and Lighting Week1-3
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ด้วยความห่วงใยจากฝ่ายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ครูปฏิการ นาครอด.
ระบบย่อยอาหาร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
Structure of Flowering Plant
ศาสนาเชน Jainism.
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction: Parasitology Somboon Sangmaneedet

Parasite: ปรสิต Host: โฮสต์ ผู้ถูกอาศัย การเกาะติดหรือการอาศัยอยู่บนร่างกายผู้อื่น ผู้อาศัยได้ประโยชน์ฝ่ายเดียว Host: โฮสต์ ผู้ถูกอาศัย

Symbiosis: การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต Mutualism ทั้ง 2 ฝ่ายได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน Commensalism ได้ประโยชน์เพียงฝ่ายเดียวโดยอีกฝ่ายไม่เสียประโยชน์ Parasitism ได้ประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว

Technical Terms Endoparasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่ภายในร่างกายสัตว์

Ectoparasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่ภายนอกร่างกายสัตว์

Temporary parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่กับสัตว์ชั่วคราวเวลาที่หาอาหาร

Permanent parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่กับร่างกายสัตว์อย่างถาวร

Obligatory parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่กับร่างกายสัตว์ตลอดเวลาโดยไม่สามารถอยู่อย่างอิสระเองได้

Periodic parasite: ปรสิตที่มีบางระยะเป็นปรสิตบนร่างกายสัตว์

Facultative parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่ภายนอกหรือในร่างกายสัตว์ก็ได้

Incidental parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่กับโฮสต์ที่ผิดธรรมชาติ

Erratic / Aberrant parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่ในอวัยวะที่ผิดไปจากปกติ

Larva: ระยะตัวอ่อนของปรสิต

Juvenile / Immature parasite: ตัวอ่อนระยะที่ใกล้เป็นระยะตัวเต็มวัย

Adult / mature parasite: ปรสิตตัวเต็มวัยที่พร้อมจะสืบพันธุ์หรือแพร่พันธุ์ได้

Free living stage of parasite: ปรสิตที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมเองได้

Infective stage of parasite: ระยะติดต่อของปรสิตที่พร้อมอาศัยอยู่กับโฮสต์

Definitive / Final host: โอสต์ที่ปรสิตไปอาศัยอยู่และเจริญเป็นตัวเต็มวัยที่สามารถแพร่พันธุ์ได้

Intermediate host: โอสต์กึ่งกลางที่ปรสิตอาศัยอยู่ในช่วงระยะหนึ่งเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือแบ่งตัว แต่ไม่สามารถพัฒนาเป็นตัวเต็มวัยได้

Paratenic / Transport host: โฮสต์ที่ปรสิตอาศัยอยู่ระยะหนึ่งโดยไม่มีการเจริญเติบโตหรือแบ่งตัว และปรสิตมีชีวิตอยู่ในโฮสต์ได้ตลอดไป

Reservoir host: โฮสต์ที่ปรสิตอาศัยอยู่และสามารถเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้โดยโฮสต์ไม่เป็นอันตราย และโฮสต์สามารถถ่ายทอดปรสิตไปสู่โฮสต์ธรรมชาติได้

Carrier: โฮสต์หรือสัตว์ที่มีปรสิต โดยโฮสต์ไม่แสดงอาการหรือเป็นโรคจากปรสิตนั้นๆ

Vector: สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหรือสัตว์ขาปล้องที่เป็นตัวแพร่ปรสิตระหว่างสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง

Biological vector: พาหะนำโรคที่ปรสิตมีการเจริญเติบโตหรือแบ่งตัวในพาหะนั้นๆ

Mechanical vector: พาหะนำโรคที่ปรสิตไม่สามารถเจริญเติบโตหรือแบ่งตัวในพาหะนั้น

Life cycle: วงจรชีวิตหรือการพัฒนาของปรสิต ตั้งแต่ระยะแรกซึ่งอาจเป็นไข่หรือตัวอ่อนไปจนถึงตัวเต็มวัย

วงจรชีวิตของปรสิตที่มี Indirect life cycle: วงจรชีวิตของปรสิตที่มี โฮสต์กึ่งกลาง

Direct life cycle: วงจรชีวิตของปรสิตที่ไม่ต้องการโฮสต์กึ่งกลาง

Prepatent period: ระยะเวลาตั้งแต่โฮสต์ติดปรสิตจนกระทั่งสามารถเริ่มตรวจพบว่าโฮสต์นั้นติดปรสิต เช่นการตรวจพบไข่พยาธิในอุจจาระ

Hypobiosis: ภาวะที่ตัวอ่อนของปรสิตไม่สามารถเจริญเป็นตัวเต็มวัยได้เนื่องจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม

อันตรายของปรสิตที่มีต่อโฮสต์ อันตรายโดยตรง ดูดกินเลือดหรือน้ำเหลือง แย่งอาหารที่ยังไม่ย่อย ดูดซึมสารอาหารที่ย่อยแล้ว รบกวนการดูดซึมอาหาร ทำลายเซลล์ ทำลายและกินเนื้อเยื่อ ชอนไชเนื้อเยื่อ อุดตันส่วนของร่างกาย กดดันอวัยวะ

อันตรายโดยอ้อม การแพ้สารจากปรสิต สารบางชนิดก่อมะเร็ง เป็นพาหะนำโรค ปฏิกิริยาต่อต้านของร่างกาย ลดภูมิคุ้มกันโรค รบกวนการกินอาหาร

Parasite vs Immunity acquire Immunity พันธุ์ อายุ เพศ passive Immunity Humoral immunity: IgA, IgE Cell mediated immunity: mast cell

Nomenclature Binomial nomenclature (genus – species) Phylum Nemathelminthes Class Nematoda Order Strongylida Family Trichostrongylidae Genus Haemonchus Species controtus

PARASITOLOGY Helminthology Protozoology Arthropodology

Helminthology Phylum Nemathelminthes: round worm Phylum Platyhelminthes Class Trematoda: flat worm Class Cestoda: tape worm Phylum Acanthocephala Thorny-head worm

Introduction: Nematodes Morphology ลำตัวยาว ทรงกระบอก เรียวแหลมด้านปลาย รูปร่างกลมพอง: Tetrameres

Integumentary system ผนังลำตัวแบ่งออกเป็น 3 ชั้น 1. ชั้นนอก: cuticle 2. ชั้นกลาง: hypodermis 3. ชั้นใน: muscle

Cuticular layer Three layer Modification Outer membrane, cortical layer, inner membrane Modification Hook Cephalic collar Cervical ala Caudal ala

Hypodermis (subcuticular layer) ประกอบด้วยเซลล์ที่เชื่อมต่อกันจำนวนมาก เซลล์ก่อตัวเป็นสันหนา ด้านบนและด้านล่าง: longitudinal lines ด้านข้าง: lateral lines (excretory canals)

ระบบทางเดินอาหาร: alimentary system Mouth Lips: papillae Ascarid: 3 lips Spirulid: 3 lips Strongylid, filarid: no lip Amphids & Phasmids chemoreceptor

No lip Strongylidae External leafcrown Internal leafcrown Buccal capsule Teeth Pharynx Oesophagus

Oesophagus L2, 3, 4, 5 of nematodes parasitic threadworms Filariform type L2, 3, 4, 5 of nematodes parasitic threadworms adult of strongyles

Rhabditiform free-living threadworms L1 of nematodes

Strongyliform (bulb or club-shaped) ascarids (round worms)

Oxyuriform (double-bulb-shaped) oxyurids (pinworms)

spiruriform 2 parts : muscular / glandular spirurids

trichuriform stichosomes stichocytes Trichurids (whipworms)

INTESTINE rectum cloaca anus tail EXCRETORY SYSTEM excretory pore (antero-ventral opening) lateral excretory canal / vessel NERVOUS SYSTEM ganglia / nerve ring

sensory organs A. chemoreceptors 1. peribuccal region :amphids 2. posterior part : phasmids PHASMIDIA or SECERNENTIA APHASMIDIA or ADENOPHOREA

sensory organs B. tactoreceptors 1. cervical papillae (derids) 2. caudal / cephalic / lateral papillae 3. genital papillae

REPRODUCTIVE SYSTEM MALE testis vas deferens / seminal vesicle (-->cloaca) spicule / gubernaculum muscle

REPRODUCTIVE SYSTEM FEMALE ovary / oviduct / seminal receptacle (spermatheca) uterus / vagina : ovijector muscle vulva

DEVELOPMENT OF NEMATODES fertilized egg zygote morula larva (L1) L2 L3 L4 L5 (young adult) adult <------------ first molting second molting third molting fourth molting <------------------- <------------------- <-----

OVIPAROUS OVOVIVIPAROUS VIVIPAROUS EGGS OF NEMATODES

LIFE CYCLES 1. Direct life cycle a. egg--hatched-->L1--L2--L3(infective stage) oral / percutanous b. egg-->not hatched-->infective egg oral

2. Indirect life cycle a. egg-->L-->inter. host--> oral route (FH) b. egg-->inter. host-->oral route(FH) c. L(circulatory system of host)--> inter. host -->biting-->Final host

Phylum Nemathelminthes Class Nematoda Subclass Secernentia or Phasmidia ORDER : ASCARIDA ORDER : OXYURIDA ORDER : RHABDITIDA ORDER : STRONGYLIDA ORDER : SPIRURIDA Subclass : Adenophorea or Aphasmidia Phylum Acanthocephala

1. 3. 5. 4. 2. 6. a. Trichuriform b. Oxyuriform c. Rhabditiform d. Filariform e. Strongyliform f. Spiruriform