งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008 นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008 นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008
นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ บริษัทเมเรียล (ประเทศไทย) จำกัด มือถือ: อีเมลล์:

2 น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต (1)
Colostrum หรือน้ำนมเหลืองจะไหลออกจากเต้านมทันที หลังการคลอด ลูกสุกรแรกเกิดต้องได้รับ colostrum หรือน้ำนมเหลืองทันที ทำไม?

3 น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต (2)
Colostrum หรือน้ำนมเหลืองประกอบด้วย » “สารภูมิคุ้มกัน” อิมมูโนโกลบูลิน(immunoglobulins) ที่จำเป็นสำหรับสุกรแรกเกิดซึ่งใช้ในการต่อต้านเชื้อโรค » “สารอาหาร” ที่จำเป็นต่อการพัฒนาอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญ ต่อลูกสุกร

4 ปริมาณ“สารภูมิคุ้มกัน”ชนิดต่างๆในน้ำนม
น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต (3) ปริมาณ“สารภูมิคุ้มกัน”ชนิดต่างๆในน้ำนม

5 ลูกสุกรแรกเกิดต้องได้รับน้ำนมเหลือง (1)
ลูกสุกรแรกเกิดต้องการปริมาณน้ำนมเหลืองแตกต่างกัน ตั้งแต่ 200 ถึง 450 กรัมต่อตัว ปริมาณน้ำนมเหลืองที่ลูกสุกรแรกเกิดได้รับขึ้นอยู่กับ » ความสามารถในการดูดนมของลูกสุกร » ความสามารถในการผลิตน้ำนมของแม่สุกร

6 ลูกสุกรแรกเกิดต้องได้รับน้ำนมเหลือง (2)
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการผลิตน้ำนมเหลืองของ แม่สุกร » ลำดับท้องของแม่สุกร » โภชนาการอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับน้ำนมเหลืองของลูกสุกร » ขนาดต่อครอก (จำนวนลูกสุกรต่อครอก) » ความแข็งแรงของลูกสุกรแรกคลอด(ความสามารถในการดูดนม)

7 ลูกสุกรแรกเกิดต้องได้รับน้ำนมเหลือง (3)
ลูกสุกรแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยและไม่แข็งแรงอาจจะ ได้รับน้ำนมเหลืองที่ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตหรือ ให้ประสิทธิภาพที่ดีในอนาคต

8 จะเกิดอะไรขึ้นหากลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองไม่เพียงพอ (1)
ช่วงเวลาและปริมาณการได้รับนมน้ำเหลืองสำคัญต่อ สุขภาพ, การพัฒนาอวัยวะ, ความอยู่รอด, และ ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรแรกเกิด ยังไม่ทราบแน่ชัดถึงปริมาณน้ำนมเหลืองน้อยที่สุดที่ลูก สุกรต้องได้รับ คำแนะนำทั่วๆไป: ลูกสุกรแรกเกิดต้องได้รับน้ำนมเหลือง อย่างน้อย กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ทันที หลังจากที่คลอดออกมา

9 จะเกิดอะไรขึ้นหากลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองไม่เพียงพอ (2)
หลังจากลูกสุกรเกิดมาแล้ว 6 ชั่วโมง ระบบทางเดินอาหารจะ เริ่มปิดการดูดซึม “สารภูมิคุ้มกัน” และไม่สามารถใช้ ประโยชน์ “สารภูมิคุ้มกัน” ได้หลังจากที่เกิดมาแล้ว 24 ชั่วโมง ดังนั้น ลูกสุกรแรกเกิดจึงต้องได้รับน้ำนมเหลืองทันที ในช่วงแรกเกิด ถึง 6 ชั่วโมงหลังคลอด ลูกสุกรแรกเกิดจะ สามารถดูดซึม”สารภูมิคุ้มกัน” ที่จำเป็นต่อการป้องกันโรค ถ้าได้รับน้ำเนมหลืองไม่เพียงพอลูกสุกรจะมีความไวต่อการ เกิดโรค

10 จะเกิดอะไรขึ้นหากลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองไม่เพียงพอ (3)
% ความสามารถในการ ดูดซึมน้ำนมเหลือง ชั่วโมง หลังคลอด

11 จะจัดการน้ำนมเหลืองอย่างเหมาะสมได้อย่างไร (1)
การจัดการแม่สุกรอย่างถูกต้องเพื่อให้ได้น้ำนมเหลือง ที่สูงเพียงพอต่อความต้องการของลูกสุกร โดย » กำจัดปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ทั้งก่อน, ระหว่าง และหลังการคลอด » จัดการด้านโภชนาการอาหารที่เหมาะสมในช่วงอุ้มท้อง และช่วงให้นม » ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแม่สุกรทุกตัวได้รับน้ำสะอาดอย่าง เพียงพอตลอดเวลา

12 จะจัดการน้ำนมเหลืองอย่างเหมาะสมได้อย่างไร (2)
กำจัดปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ทั้งก่อน, ระหว่าง และหลังการคลอด ความเครียด STRESS Cortisol Depress Immunity Eat&Drink down ADG&FCR Susceptible to Disease แม่สุกรต้อง “เย็นสบาย” ไม่เห็นแม่สุกรรอคลอดหอบ LA unit Thailand

13 จะจัดการน้ำนมเหลืองอย่างเหมาะสมได้อย่างไร (3)
จัดการด้านโภชนาการ อาหารที่เหมาะสมในช่วง อุ้มท้องและช่วงให้นม LA unit Thailand

14 จะจัดการน้ำนมเหลืองอย่างเหมาะสมได้อย่างไร (4)
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแม่สุกรทุกตัวได้รับน้ำสะอาดอย่าง เพียงพอตลอดเวลา (ไม่ให้แม่สุกรท้องผูก) ปริมาณการไหลของน้ำในแม่สุกรอุ้มท้อง / แม่เลี้ยงลูก ต้องมากกว่า 1,500 มิลลิลิตรต่อนาที LA unit Thailand

15 จะจัดการน้ำนมเหลืองอย่างเหมาะสมได้อย่างไร (5)
ดูแลไม่ให้แม่สุกรท้องผูก (แม่สุกรทุกตัวได้รับน้ำ สะอาดอย่างเพียงพอตลอดเวลา) เต้านมอักเสบและแห้ง LA unit Thailand

16 ทำอย่างไรให้ลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองอย่างเพียงพอ (1)
การเฝ้าคลอด (Supervise farrowing) » เพื่อให้ลูกสุกรแรกเกิดได้รับน้ำนมเหลืองทันทีและ เพียงพอ การจัดการคลอดเป็นชุด (Batch farrowing) » ช่วยการจัดการแรงงานให้เพียงพอในช่วงเวลาที่ถึง กำหนดคลอด

17 ทำอย่างไรให้ลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองอย่างเพียงพอ (2)
การกำหนดเวลาคลอด (Synchronised farrowing) ที่ แน่นอน » จำเป็นต้องใช้ฮอร์โมน หรือยา ซึ่งควรปรึกษาสัตวแพทย์ การย้ายฝาก (Cross fostering) ให้ได้รับน้ำนมเหลืองที่ เพียงพอ » ควรย้ายฝากทันทีที่เป็นไปได้ (ภายใน 24 ชั่วโมง)

18 ทำอย่างไรให้ลูกสุกรได้รับน้ำนมเหลืองอย่างเพียงพอ (3)
ถ้าแม่สุกรไม่มีน้ำนมเหลืองอาจใช้น้ำนมเหลืองจากวัว แทนได้ การเก็บน้ำนมเหลืองจากแม่สุกรที่ให้น้ำนมเหลืองเกิน ความต้องการ โดยการนำไปแช่แข็ง และนำมาละลายใช้ ในยามที่มีน้ำนมเหลืองไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ลูกสุกรแรกเกิด

19 Z!Z!Z!ขอบคุณ….คร๊าบ จบการนำเสนอ LA unit Thailand


ดาวน์โหลด ppt Colostrum: Food for Life น้ำนมเหลือง: อาหารเพื่อชีวิต ที่มา: ThePigSite Latest News September 2008 นสพ.วีริศ หิรัญเมฆาวนิช ฝ่ายขายและวิชาการ แผนกผลิตภัณฑ์สัตว์เศรษฐกิจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google