งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai

2 บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 11.1 การสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การสืบพันธุ์ของสัตว์ การสืบพันธุ์ของคน 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของคน

3 จุดประสงค์การเรียนรู้
5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตของคน 7. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างความผิดปกติของการตั้งครรภ์ และสภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

4 การเจริญเติบโตของคน (Human development)

5 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์
1. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. การเจริญเติบโตของสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของแมลง การเจริญเติบโตของกบ การเจริญเติบโตของไก่ 3. การเจริญเติบโตของคน

6 3. การเจริญเติบโตของคน Fertilization = sperm + egg ---- zygote (initial fallopian tube) Cleavage --- embryo (morula) --- blastulation --- beginning of implantation in endometrium

7

8

9 http://faculty. southwest. tn

10 http://faculty. southwest. tn

11

12 Human embryonic development
ประมาณ 7 วัน หลังปฏิสนธิ ซึ่งอยู่ในระยะบลาสทูลา embryo จะสร้าง chorion ล้อมรอบ embryo บางส่วนของ chorion (ลูก) ยื่นเป็นแขนงเล็ก ๆ แทรกใน endometrium (แม่) ซึ่งพัฒนาไปเป็นรก (placenta) Embryo มีการสร้างถุงน้ำคร่ำ (amnion) หุ้มตัวเอง ภายในมี น้ำคร่ำ (amniotic fluid) ทำหน้าที่ ป้องกันการกระทบกระเทือน และช่วยการเคลื่อนไหวของทารก Embryo มีการสร้างสายสะดือเชื่อมกับรก

13 Human embryonic development
เมื่ออายุได้ 2 สัปดาห์ embryo จะมีความยาว 1.5 mm เข้าสู่ระยะ gastrulation เกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ Ectoderm Mesoderm Endoderm

14 http://faculty. southwest. tn

15 http://faculty. southwest. tn

16 http://faculty. southwest. tn

17 http://faculty. southwest. tn

18

19 Human embryonic development
ในสัปดาห์ที่ 3 จะปรากฏร่องรอยของระบบและอวัยวะขึ้น ซึ่งเข้าสู่ระยะ organogenesis จะมีการสร้างอวัยวะจนครบภายในเวลา 8 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของ embryo และหลังจากระยะนี้แล้ว จะเรียกว่า fetus

20 Human fetus development
เมื่ออายุได้ 8-9 สัปดาห์ จะมีนิ้วมือ และนิ้วเท้าเจริญเห็นได้ชัดเจน สามารถแยกเพศได้ ช่วงเดือนที่ 4-6 ฟีตัสจะมีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ มีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูก มีผม และขน ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ฟีตัสจะมีขนาดโตเพิ่มมากขึ้น ในระยะนี้ เป็นระยะที่ระบบประสาทเจริญมาก

21 Human fetus development
หลังจากแม่ตั้งครรภ์ได้ประมาณ 280 วัน ซึ่งนับจากวันแรกของการมีประจำเดือน ครั้งสุดท้ายก็ถึงระยะครบกำหนดคลอดออกมา โดยส่วนใหญ่ส่วนหัวของทารกจะออกมาก่อน หลังจากคลอดออกมาประมาณ 1 นาทีทารกจะเริ่มหายใจ และติดตามด้วยเสียงร้อง ในกรณีที่มีการคลอดก่อนกำหนด ทารกอาจรอดชีวิตได้ แต่ต้องเลี้ยงไว้ในตู้ที่ควบคุมอุณหภูมิให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิในร่างกายแม่

22

23 Human development 6 weeks

24

25

26

27 http://faculty. southwest. tn

28

29

30 การตรวจน้ำคร่ำในครรภ์

31 การเจริญเติบโตของคนระยะหลังคลอด
การเจริญเติบโตของคนในระยะหลังคลอดนี้ ส่วนใหญ่จะมีการเพิ่มความสูงและน้ำหนักของร่างกาย ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะไม่เท่ากัน

32 สภาวะบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เซลล์ไข่ของคนอยู่ในประเภท Homolecithal egg เอ็มบริโอและฟีตัสได้รับอาหารจากแม่โดยผ่านทางรก ผู้เป็นแม่จึงต้องบริโภคอาหาร ให้ครบและพอเพียงต่อความต้องการ ครบสารอาหารหลัก 5 หมู่ โดยเฉพาะประเภทเนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเหลือง และมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกาย พบว่า ถ้าขาดสารอาหารประเภทโปรตีนในระยะ 3 เดือนก่อนคลอด จะทำให้ทารกที่เกิดมาอาจไม่สมบูรณ์หรือมีระดับสติปัญญาต่ำกว่าปกติ หญิงมีครรภ์ควรได้รับพลังงานจากอาหารวันละประมาณ 2,300 กิโลแคลอรี่

33 สิ่งที่แม่ได้รับอาจมีผลกับทารกในครรภ์
1. สารเคมี เช่น ยากล่อมประสาทพวกทาลิโดไมล์ (thalidomide) สุรา บุหรี่ เป็นต้น 2. เชื้อโรค เช่น หัดเยอรมัน 3. กรรมพันธุ์ 4. รังสีต่าง ๆ เช่น รังสีเอกซ์

34 ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของลูกอ่อน
ปัจจัยที่มีความจำเป็นมากสำหรับลูกอ่อน คือ อาหาร (ปริมาณไข่แดง) การคุ้มภัย ปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น

35 References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : หน้า. คณาจารย์ ภาควิชาสัตววิทยา. ปฏิบัติการชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ : หน้า.

36 Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google