ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ณ 31 พฤษภาคม
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ( พ. ศ. 2557) เรื่อง แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ และ วิธีการในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
โครงการฝึกอบรม เรื่องการบริหารความเสี่ยงแก่หน่วยงานและ ผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบงาน ด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Coordinators) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
หัวข้อ สรุปแนวคิดเรื่องการบริหารความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง 1. ไม่กำหนดเป็นขั้นตอนของการดำเนินการ แต่อธิบายลักษณะที่หน่วยงานจะต้อง ดำเนินการ 2. เพิ่มการบริหารความเสี่ยงของโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติราชการฯ ที่มีความเสี่ยงสูงสุดใน 3 ลำดับแรก 3. ปรับเปลี่ยนรูปแบบของตาราง SR 1 และ SR 2 4. เน้นการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ ซึ่งต้องสามารถแสดง หลักฐานของการจัดการความเสี่ยงตามแผนดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรม 5. ไม่มีการทดสอบวัดความรู้ เปลี่ยนวันที่กำหนดให้ส่งรายงานการบริหารความเสี่ยง ผลคะแนนไม่เชื่อมโยงกับคะแนนผลสำเร็จของตัวชี้วัดในมิติที่ 1 2

สิ่งที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการ

ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การจัดทำตาราง SR 1 ค้นหา ระบุ ประเมิน และวางแผนการจัดการความเสี่ยงของ ตัวชี้วัดในมิติที่ 1 ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ หน่วยงาน จัดลำดับความเสี่ยง รายงานผลความคืบหน้าของการจัดการความเสี่ยง แสดงหลักฐานการจัดการความเสี่ยงตามแผนการจัดการ- ความเสี่ยง ทุกตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การจัดทำตาราง SR 2 พิจารณาความเสี่ยงระดับสูงสุด 3 ลำดับแรก เลือกโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดที่มีความเสี่ยง ระดับสูงสุด 3 ลำดับแรกดังกล่าว อย่างน้อยจำนวน 1 โครงการ หรือกิจกรรม มากำหนดแผนการจัดการความเสี่ยง

ตาราง SR 2 ข้อมูลที่หน่วยงานต้องระบุ ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ/ กิจกรรม วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ/ กิจกรรม ความเสี่ยงของโครงการ/ กิจกรรม การควบคุมที่มีอยู่ในปัจจุบัน การประเมิน/ วิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ แผนการจัดการความเสี่ยง (วิธีการ/ ลักษณะ) กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง (ขั้นตอน) ตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง (อย่างน้อย 3 ตัวชี้วัด) ผลความคืบหน้าของการจัดการความเสี่ยง รวมถึงตัวชี้วัดจัดการฯ สิ่งที่คาดหวังภายหลังจากการบริหารจัดการความเสี่ยง

ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) การรายงานความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยง หน่วยงานจัดทำตาราง SR 1 และ SR 2 ส่งตาราง SR 1 และ SR 2 จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ส่งรายงานให้ สตน. ภายในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2559 ครั้งที่ 2 ส่งรายงานให้ สตน. ภายในวันที่ 5 พฤษภาคม 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานประชุมพิจารณา ตาราง SR 1 และ SR 2 ก่อนส่งให้สำนักงานตรวจสอบภายใน พร้อมแนบรายงานการประชุมของคณะกรรมการฯ ของแต่ละครั้ง มาด้วย (อาจประชุมมากกว่า 2 ครั้งได้)

ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) ตัวชี้วัด 2.3 ความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ต่อ) การจัดทำและส่งรายงานการควบคุมภายใน จัดทำแบบ ปย. 1 และแบบ ปย. 2 ตามระเบียบคณะกรรมการ- ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ส่งรายงานการควบคุมภายในดังกล่าว ให้สตน. ภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2560

เกณฑ์การให้คะแนน x 100 แบบฟอร์ม SR 1 จำนวนตัวชี้วัดมิติที่ 1 ของหน่วยงานที่สามารถ แสดงหลักฐานของการจัดการความเสี่ยงตามกิจกรรม การจัดการความเสี่ยงได้อย่างครบถ้วนและสมบูรณ์ x 100 จำนวนตัวชี้วัดมิติที่ 1 ทั้งหมดในแผนฯ ที่หน่วยงาน นำมาบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์ม SR 1

เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ) แบบฟอร์ม SR 2 จำนวนตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยงของ ทุกโครงการ/ กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการได้สำเร็จ ตามค่าเป้าหมาย x 100 ทุกโครงการ/ กิจกรรมที่หน่วยงานกำหนดในการ บริหารความเสี่ยง

เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ) คะแนนรวม (เฉลี่ยผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง) ผลรวมค่าร้อยละของผลสำเร็จตามแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 2

การคำนวณผลการประเมิน ผลคะแนนรวม ระดับคะแนนที่ได้รับ > 90 – 100 คะแนน 5 > 80 – 90 คะแนน 4 > 70 – 80 คะแนน 3 > 60 – 70 คะแนน 2 0 – 60 คะแนน 1

การหักคะแนน (ประเด็นละ 2 คะแนน) ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่มีรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ หน่วยงาน ไม่จัดทำแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 หรือจัดทำแต่กรอกข้อมูล ไม่ครบถ้วน ไม่ส่งหรือส่งแบบฟอร์ม SR 1 และ SR 2 ให้สตน.ล่าช้ากว่ากำหนด ไม่ส่งหรือส่งแบบ ปย.1 และแบบ ปย.2 ล่าช้ากว่ากำหนด

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน 2. รายงานการประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน อย่างน้อยจำนวน 2 ครั้ง (2 ฉบับ) 3. แบบฟอร์ม SR 1 และแบบฟอร์ม SR 2 ที่มีข้อมูลครบถ้วนตามหัวข้อที่กำหนด 4. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) 5. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๒) 6. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรมการจัดการความเสี่ยง (แบบฟอร์ม SR 1) สำหรับความเสี่ยงทุกตัวในแต่ละตัวชี้วัด 7. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการดำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยงของ โครงการ/ กิจกรรม และตัวชี้วัดผลสำเร็จของการจัดการความเสี่ยง (แบบฟอร์ม SR 2) ได้บรรลุตามเป้าหมาย 8. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของหน่วยงาน

ขอบคุณ ติดต่อสอบถาม กลุ่มพัฒนางานตรวจสอบภายใน สำนักงานตรวจสอบภายใน โทร. 02 223 2221 โทร.ภายใน 1372 http://office.bangkok.go.th/iaud