การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life) แนวทางการประเมินผล การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life) ตัวชี้วัด 4.2.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน 19/11/61
ประเด็นการนำเสนอ ความสำคัญ ความหมาย หน่วยงานต้องทำอะไรในปี 60 19/11/61
ความสำคัญ ดูแลสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน กฎหมายกำหนด ผู้ว่าฯ เห็นชอบแนวทางในการดำเนินงานฯ บรรจุในแผน 20 ปี กทม. 19/11/61
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน การกระทำ หรือ สภาพการทำงาน ซึ่งปลอดจากเหตุที่จะก่อให้เกิดประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ สุขภาพอนามัย จากการทำงานหรือเกี่ยวกับการทำงาน 19/11/61
หน่วยงานต้องทำอะไร จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในหน่วยงาน 19/11/61
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2554 พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2554 มาตรา 3 วรรคสอง กำหนดให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในหน่วยงานของตนไม่ต่ำกว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ 19/11/61
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ แนวปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารและจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ มาตรฐานที่ 1. สำหรับทุกหน่วยงาน มาตรฐานที่ 2. หน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ เช่น เสี่ยงจากรังสี สารเคมีอันตราย เครื่องจักร การทำงานในที่อับอากาศ เป็นต้น มาตรฐานที่ 3. หน่วยงานที่เข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ เช่น สถานีบริการจำหน่ายน้ำมัน/ก๊าซ สถานพยาบาล นันทาการ การกีฬา 19/11/61
มาตรฐานที่ 1 สำหรับทุกหน่วยงาน - แต่งตั้ง บุคคล คณะบุคคลรับผิดชอบ - จัดทำนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ - มีแผนงาน งบประมาณดำเนินการ - มีกฎ ระเบียบ มาตรฐาน - มีการติดสัญญลักษณ์เตือนอันตราย เครื่องหมายความปลอดภัย - มีการสำรวจ ตรวจสอบประเมินสภาพการทำงานที่อาจก่ออตร. - มีการจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 19/11/61
สำหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ มาตรฐานที่ 2 สำหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ -ตรวจสภาพแวดล้อมตามปัจจัยเสี่ยง -จัดให้มีการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง และรายงานผล -จัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายสำหรับเครื่องจักร -จัดให้มีมาตรฐาน / ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยในงานเสี่ยง -มีระบบการอนุญาตให้เข้าที่ทำงานอันตราย 19/11/61
มีการดำเนินการเข้าข่ายกิจการเฉพาะ มาตรฐานที่ 3 มีการดำเนินการเข้าข่ายกิจการเฉพาะ - จัดทำข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงาน และฝึกอบรมจนบุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง - มีการแต่งตั้งผู้บริหารทุกคน เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร - มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับวิชาชีพ ระดับหัวหน้างาน ระดับเทคนิคขั้นสูง ระดับเทคนิค 19/11/61
หน่วยงานต้องทำอะไร ในปี2560 19/11/61
การดำเนินงานในภาพรวม ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2561 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน 7. พิจารณาจัดทำแผนดำเนินการ ตามข้อ6. 2. ประชุมคณะกรรมการฯ 8. ดำเนินการตามแผน 3. ส่งบุคลากรเข้าอบรม / ประชุม 9. ประเมินผลการดำเนินงาน 4. เผยแพร่ปชส.ให้ความรู้ 10. ประชุมคณะกรรมการ 5. หน่วยงานประเมินตนเอง 11. รายงานผลการดำเนินงาน 6. จัดลำดับความสำคัญ / เสนอผู้บริหาร 12. ทบทวน / จัดทำแผน ปีถัดไป 19/11/61
แผนปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด 4.2.1 (ปี60) การดำเนินการของหน่วยงาน แผนปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด 4.2.1 (ปี60) ระยะเวลา การดำเนินการของหน่วยงาน ต.ค.59 - พ.ย.59 - แต่งตั้งคณะกรรมการ (ระดับสำนัก) - แต่งตั้งคณะทำงาน / บุคคล (สำนักงาน / กอง / เทียบเท่า) ต.ค.59 เป็นต้นไป - ประชุมคณะกรรมการฯ - เผยแพร่ ปชส.ให้ความรู้ ม.ค.60 - มี.ค.60 - ส่งบุคลากรเข้าอบรม / ประชุม เม.ย.60 - พ.ค.60 - หน่วยงานประเมินตนเอง มิ.ย.60 - ก.ค.60 - จัดลำดับความสำคัญของปัญหา+เสนอผู้บริหารให้ทราบ ภายใน 31 กค.60 - จัดส่งข้อมูลจัดลำดับฯ+เสนอผู้บริหาร ให้สำนักอนามัย 19/11/61
หลักฐานประกอบการประเมิน การดำเนินการ เอกสาร/หลักฐาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ - สำเนาคำสั่ง / ประกาศ 2. ประชุมคณะกรรมการฯ - รายงานการประชุม 3. ส่งบุคลากรเข้าอบรม - หลักฐานการอบรม / ประชุม 4. เผยแพร่ปชส.ให้ความรู้ - หลักฐานการเผยแพร่ปชส.ให้ความรู้ 5. หน่วยงานประเมินตนเอง - หลักฐานหน่วยงานประเมินตนเอง 6. จัดลำดับความสำคัญของปัญหา และเสนอผู้บริหารรับทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป - หลักฐานจัดลำดับของปัญหา - หลักฐานการนำเสนอผู้บริหารรับทราบ 19/11/61
คะแนนตามขั้นตอนการดำเนินการ ผลการดำเนินการของหน่วยงาน คะแนน (ร้อยละ) 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ฯ 5 2. มีการประชุมคณะกรรมการฯ 10 3. บุคลากรได้เข้ารับการอบรม /ประชุม ตามที่สำนักอนามัยจัด 15 4. มีการเผยแพร่ปชส.ให้ความรู้ฯ ภายในหน่วยงาน 5. มีผลการประเมินตนเอง ของหน่วยงาน 25 6. มีผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา(15%) และการเสนอผู้บริหารให้รับทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป (15%) 30 รวม 100 19/11/61
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละความสำเร็จการดำเนินงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน 1 2 3 4 5 60 70 80 90 100 19/11/61
การสนับสนุน จากสนอ. 19/11/61
การสนับสนุนจากสำนักอนามัย ขั้นตอนของหน่วยงาน สนอ.สนับสนุน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน - จัดส่งคู่มือ / ตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง 2. ประชุมคณะกรรมการฯ - ให้คำแนะนำ ปรึกษา 3. ส่งบุคลากรเข้าอบรม / ประชุม - จัดการอบรม /ประชุม 4. เผยแพร่ปชส.ให้ความรู้ - สนับสนุนสื่อความรู้ทางวิชาการ 5. หน่วยงานประเมินตนเอง 6. จัดลำดับความสำคัญ + เสนอผู้บริหาร 19/11/61
สรุปการดำเนินงาน ในปี 2560 19/11/61
แหล่งข้อมูล 1.คู่มือการปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานฯ สำหรับหน่วยงานกรุงเทพมหานคร 2. เว็บไซต์ 2.1 สำนักงาน ก.ก. www.bangkok.go.th/csc 2.2 สำนักอนามัย www.bangkok.go.th/health 2.3 สำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน www.oshthai.org 3. กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย โทร. 02 - 354 - 4226 ถึง 30 , e-mail : OCC.BKK@gmail.com 19/11/61
จบการนำเสนอ 19/11/61