การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

PHPPHP การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
 การเปิดโปรแกรม MS-Word 2003  หน้าตาวินโดว์ของ Word  การเก็บบันทึกเอกสาร  การปิดเอกสาร  การสร้างเอกสารใหม่  การเปิดเอกสารเก่าขึ้นมาใช้งาน  การแทรกข้อความ.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
P.2 P.1Presented by นางสาวฐาวรา พ ร ธรรมวัฒน์ ID Section B01 SC15A.
การใช้งาน Microsoft Excel
นาย ชญานิน ฉวีอินทร์ รหัส กลุ่ม PE11 ตอนเรียน B06.
บทที่ 9 การส่ง ข้อมูลจาก MS Excel ไปยัง MS Word. การ Add Control ให้
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
บทที่ 6 การใช้คำสั่ง อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
บทที่ 8 การใช้งาน Control อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 7 การสร้างกล่องรับข้อความ และ User Form
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
The Comptroller General's Department ล้างบัญชีพักงานระหว่างก่อสร้าง
โครงสร้างภาษา C Arduino
โปรแกรม AutoCAD Civil 3D และปฏิบัติการกำหนดเมนู
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Basic Input Output System
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint
ครั้งที่4-5วิชาวาดเส้นTV การวาดหน้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro บทที่ 2 การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

VBA และ Macro VBA (Visual Basic for Application) เป็นเครื่องมือที่ใช้พัฒนา Application ใน Microsoft Office โดยใช้ภาษา Visual Basic แมโคร (Macro) เป็นสามารถบันทึกการทำงานที่เกิดขึ้นจริงก่อน แล้วจึงเรียกมาใช้งานภายหลัง ซึ่งโปรแกรมจะสร้างคำสั่งเป็นภาษา VBA ให้อัตโนมัติ โดยสามารถแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งได้ Form การทำงานในรูปแบบที่เป็น Graphic มากขึ้นสามารถใช้ Form มารับค่าต่างๆ และนำไปประมวลผล และนำมาจัดการกับ Cell ต่างๆใน Excel ได้ ซึ่งภาษาที่ใช้พัฒนา Application คือ VBA โดยผู้พัฒนาสามารถเขียนคำสั่งเองทั้งหมด

โพรซีเยอร์ (Procedures) เป็นชุดคำสั่งที่ควบคุมการทำงานใน Application แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ 1. ซับโพรซีเยอร์ (Sub Procedure) 2. ฟังก์ชันโพรซีเยอร์ (Function Procedure) การบ้านให้ไปหาว่า 1. ซับโพรซีเยอร์ (Sub Procedure) และ ฟังก์ชันโพรซีเยอร์ (Function Procedure) ต่างกันอย่างไร

การไปที่รายการถัดไป การไปที่รายการแบบ Absolute คือการไปที่ Cell เดิมเสมอไม่ว่าจะ Run Macro กี่ครั้ง การไปที่รายการแบบ Relative คือการไปที่ Cell หรือบรรทัดถัดจากข้อมูลที่มีอยู่ในการ Run Macro

ให้นิสิตดูขั้นตอนการสร้าง Macro

ขั้นตอนการไปแบบ Absolute 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ AbsoluteMove” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 6. ไม่เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Absolute) 7. กดลูกศรลงอีกครั้ง 8. Stop Recording 9. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ AbsoluteMove

ขั้นตอนการไปแบบ Relative 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ RelativeMove” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 6. เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Relative ) 7. กดลูกศรลงอีกครั้ง 8. Stop Recording 9. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ RelativeMove

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (1) บันทึกข้อมูลใน Excel ตามหน้าจอ

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (2) ขั้นตอน 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ CopyFormula” > OK 4. กำหนดการทำงานให้เป็นแบบ Absolute (นั่นคือไม่เลือกปุ่ม Relative Reference ) 5. Click Mouse ที่ B2 6. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 7. เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Relative ) 8. กด Shift ค้างไว้ + กด End + กด ลูกศรไปทางขวา จากนั้นปล่อย Shift 9. กด Ctrl + c 10. กดลูกศรลง 2 ครั้ง 11. Click เมนู Edit > Past Special.. > Value > OK 12. กด Esc > Click ยกเลิกการเลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Absolute ) > Click Mouse ไปที่cell A1 13. Stop Recording 14. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ CopyFormula

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (3) การทดสอบ Macro แบบที่ 1 1. ให้ลบข้อมูล Cell B8:F8 แล้วกดปุ่ม Copy Formula จะพบว่า Cell B8:F8 กลับมาเหมือนเดิม การทดสอบ Macro แบบที่ 2 1. ให้แทรกรายการเช่น ค่าอาหาร ค่าที่พัก แล้วค่าใช้จ่ายรวมจะคำนวณใหม่ 2. ลบ Cell B10:F10 ตามรูป 3. กดปุ่ม Copy Formula จะพบว่า Cell B10:F10 กลับมาเหมือนเดิม โดยจะเป็นค่าที่ถูกคำนวณขึ้นมาใหม่โดยเป็นค่าใช้จ่ายรวมที่ถูกต้อง

คำสั่งใน Excel Range(“Cell”).Select คือ เลือกช่วงของ Cell เช่น Range(“B2”).Select Range(“A1,A2,B1,B2”).Select Rang(“A1:D1”).Select

ให้นิสิตเริ่มทำความเข้าใจคำสั่งที่ Macro สร้างขึ้น และให้ดูว่าคำสั่งต่อไปนี้เป็นคำตอบของแบบฝึกหัดใด 1. Range("B2:H4").Select 2. Range("B2").Select 3. Range("B2,D2,D4,F2,H2").Select Range("H2").Activate

แบบฝึกหัด 1 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_01” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. Stop Recording 6. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

แบบฝึกหัด 2 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_02” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด Ctrl แล้วเลือก D2, D4,F2, H2 6. Stop Recording 7. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

แบบฝึกหัด 3 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_03” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด Shift แล้วเลือก B2 ถึง H4 6. Stop Recording 7. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

ให้นิสิตทำแบบฝึกหัดและสังเกตุคำสั่งที่เกิดขึ้น และดูความหมายของคำสั่ง

การเลื่อน Cell แบบ Absolute (Macro1) 1. Range("C11").Select เริ่มเลือกที่ Cell C11 2. Selection.End(xlDown).Select กด End แล้วกด Down 1 ครั้ง 3. Range("C14:D14").Select เลือกใน Mode Absolute โดย (กด Ship + >) ความหมายของโปรแกรมคือเลือกเท่านั้น เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro1) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง 5. กด Ship + ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 6. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Absolute (Macro2) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select Range(Selection, Selection.End(xlToRight)).Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro2) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง 5. กด Ship + End + ลูกศรไปทางขวา 6. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Relative (Macro3) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select ActiveCell.Range("A1:B1").Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro3) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ C14 5. เลือก Relative Reference 6. กด Ship + ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 7. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Relative (Macro4) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select Range(Selection, Selection.End(xlToRight)).Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro4) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ C14 5. เลือก Relative Reference 6. กด Ship +End+ ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 7. Stop Recording

การเคลื่อนย้ายไปยัง Cell ที่ว่างหลังข้อมูลแบบ Relative Sub GotoNewCellRelative() Range("B2").Select Selection.End(xlDown).Select ActiveCell.Offset(1, 0).Range("A1").Select End Sub เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (GotoNewCellRelative) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell B2 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ B6 5. เลือก Relative Reference 6. เลื่อนลูกศรลงอีกครั้ง 7. Stop Recording

การเคลื่อนย้ายไปยัง Cell ที่ว่างหลังข้อมูลแบบ Absolute Sub GotoNewCellAbsolute() Range("B2").Select Selection.End(xlDown).Select Range("B7").Select End Sub ขั้นตอนในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (GotoNewCellAbsolute) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell B2 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ B6 5. เลือก Relative Reference เพื่อยกเลิก (เพราะต้องการให้เป็น absolute แต่ถ้าเป็น Absolute อยู่ก่อนแล้ว คือปุ่มนั้นไม่ได้เลือกอยู่ก่อนแล้วให้ข้ามไปไม่ต้องเลือกอะไรเลย) 6. เลื่อนลูกศรลงอีกครั้ง 7. Stop Recording

สรุปคำสั่ง Activecell = Cell ที่กำลังทำงานอยู่ Activecell.offset(1,0).Range(“A1”).Select เป็นคำสั่งให้กระโดดไปแบบ Relative โดยที่ใน (1,0) หมายถึง ให้เลื่อนไป 1 Row 0 Column จากที่ Activecell ตำแหน่ง(Row,Column) Row เป็นบวก จะเลื่อนลง Row เป็นลบ จะเลื่อนขึ้น Column เป็นบวก จะเลื่อนไปทางขวามือ Column เป็นลบ จะเลื่อนไปทางซ้ายมือ นั่นคือ ถ้าตัวเลขเป็นบวก จะเป็นการเลื่อนลง หรือไปทางขวามือ ถ้าตัวเลขเป็นลบ จะเป็นการเลื่อนขึ้นหรือไปทางซ้ายมือ

สรุปคำสั่ง กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรลง - Selection.End(xlDown).Select - Selection.End(xlUp).Select กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรไปทางขวา - Selection.End(xlToRight).Select กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรไปทางซ้าย - Selection.End(xlToLeft).Select

สรุปคำสั่ง คำสั่งบอกตำแหน่ง Cell ActiveCell.Address

การรับค่าและแสดงค่าของ Excal Range("D3").Select ตัวแปร 1 = ActiveCell.Value ตัวแปร 2 = ActiveCell.Offset(0, 1).Value ตัวแปร 3 = ActiveCell.Offset(0, 2).Value การแสดงค่าของ Excal ActiveCell.Value = ค่า1 ActiveCell.Offset(0, 1).Value = ค่า2 ActiveCell.Offset(0, 2).Value = ค่า3

การรับค่าและแสดงค่าของ Excal Sub calTotAmt() Range("D3").Select Do While Not IsEmpty(ActiveCell.Value) Price = ActiveCell.Value BalQty = ActiveCell.Offset(0, 1).Value ActiveCell.Offset(0, 2).Value = Price * BalQty ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop End Sub

หนังสืออ้างอิง เรียนลัด VBA บน Excel, วิศัลย์ พัวรุ่งโรจน์ Excel VBA Programming, วิชา ศิริธรรมจักร์ และสุรเชษฐ์ วงศ์ชัยพรพงษ์