สิงคโปร์และการสร้างประชาคมอาเซียน โดย รองศาสตราจารย์ ดร.โคริน เฟื่องเกษม
หัวข้อการบรรยาย ลักษณะเด่นของสิงคโปร์ “จิ๋ว แต่แจ๋ว” ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ “ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมิได้นำไปสู่ความพัฒนาทางการเมืองในแง่ความเป็นประชาธิปไตย” ความพัฒนาทางการเมือง “สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความมั่นคงและเสถียรภาพทางการเมืองมากกว่ามีความเป็นประชาธิปไตย” บทสรุป: แนวโน้มในอนาคต “จำเป็นต้องมีประชาธิปไตยในรูปแบบเดียวกับทั่วโลกหรือไม่?” “ประชาธิปไตยแนวเอเชียเหมาะสำหรับสิงคโปร์มากกว่าประชาธิปไตยแบบตะวันตกหรือไม่?” สิงคโปร์และการสร้างประชาคมอาเซียน
ลักษณะเด่นของประเทศสิงคโปร์ “จิ๋ว แต่แจ๋ว” “เกาะมหัศจรรย์”(ผูลัวจง/เตมาเส็ก/สิงกะปุระ) “สี่เสือเอเชีย” “สะอาด เขียวขจี และปลอดภัย” “รวยที่สุด การศึกษาดีที่สุด ที่อยู่อาศัยดีที่สุด สุขภาพดี ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
ลักษณะเด่นของประเทศสิงคโปร์ “จิ๋ว แต่แจ๋ว”
ลักษณะเด่นของประเทศสิงคโปร์ “จิ๋ว แต่แจ๋ว”
ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์และประชากร - พื้นที่ 710.2 ตร.กม. - จำนวนประชากร 5.1 ล้านคน ความ หนาแน่น7,022คน/ตารางกิโลเมตร - ประกอบด้วยเชื้อชาติจีน 77% มาเลย์ 14 อินเดีย 8% - ใช้ภาษาจีน อังกฤษ มาเลย์ ทมิฬ - ประกอบด้วยศาสนาพุทธ 43% เต๋า 9% อิสลาม 15% คริสเตียน 15% ฮินดู 3%
ลักษณะเด่นของประเทศสิงคโปร์ “รวยที่สุด การศึกษาดีที่สุด ที่อยู่อาศัยดีที่สุด สุขภาพ ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” - GDP at PPP (2010) = 255 พันล้านดอลลาร์ - 2010 GDP per capita 52,839 ดอลลาร์ (#3) - อัตราการการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (1960-1990) = 9.4% ปี 2007 = 7.4% - อัตราผู้รู้หนังสือ 92.5%-100%(อายุต่ำกว่า 30ปี) - รัฐบาลสามารถจัดสรรที่อยู่อาศัยให้ประชาชน มากกว่า 86% - 90% ของประชากร เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย - HDI rank อันดับที่ 27ของโลก(0.846) - อายุขัย ชาย 79 ปี หญิง 83 ปี - 2010 WHO ประเมิณว่าสุขภาพดีที่สุดในเอเชีย(อันดับ 6 ในโลก) - มาตรฐานการครองชีพ อันดับที่ 2 ในเอเชีย
“สะอาด เขียวขจี และปลอดภัย” 2004 ประเทศที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุดในโลก 2008 เมืองที่มีชีวิตความป็นอยู่มีคุณภาพมากที่สุดในเอเชีย 2010 เมืองที่เขียวขจีที่สุดในเอเชีย
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (1) สมมติฐานจากงานวิจัย Anek Laothamatas (ed.) Democratization in Southeast and East Asia (1997) ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ มีสหสัมพันธ์กับการพัฒนาให้เป็นประชาธิปไตย ไทย ไต้หวัน เกาหลี ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ มิได้นำไปสู่การพัฒนาให้เป็นประชาธิปไตย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ความไม่พัฒนาทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดขบวนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย ฟิลิปปินส์ พม่า
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (2) เครื่องบ่งชี้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ การจัดอันดับความสำเร็จโดยสำนักประเมินผลระดับโลก:- 1990 ประเทศที่มีความเสี่ยงน้อยที่สุดในเอเชียที่จะเข้าไปลงทุน 1994 มีสายการบินที่ดีที่สุด มีสนามบินที่ดีที่สุด มีท่าเรือคึกคักอันดับ 2 มีแหล่งเงินทุนดีที่สุด มีระบบเศรษฐกิจที่แข่งขันได้ดีเป็นอันดับ 2 1995 เป็นเมืองชั้นนำทางธุรกิจ 1996 เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (3) ปี 2006 อันดับ 1 ใน 175 ระบบเศรษฐกิจที่สำเร็จในโครงการประกอบธุรกิจ อันดัน 1 ใน 62 ประเทศตามดัชนีวัดความเป็นโลกาภิวัตถ์ อันดับ 2 ใน 155 ประเทศตามดชนีความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อันดับ 3 ใน 60 ระบบเศรษฐกิจในเรื่องความสามารถในการแข่งขันระดับโลก อันดับ 5 ใน 124 ระบบเศรษฐกิจในเรื่องการแข่งขันด้านการเจริญเติบโต อันดับ 11 ใน 111 ประเทศตามดัชนีวัดคุณภาพชีวิตระดับโลก อันดับ 25 ใน 177 ประเทศตามดัชนีวัดระดับความพัฒนาของมนุษย์
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (4) เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 1990 รวยและหรูหราเทียบเท่า สวิตเซอแลนด์ 2020 พัฒนาเทียบเท่า เนเธอแลนด์ 2030 พัฒนาเทียบเท่า สหรัฐอเมริกา
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (5) ที่มาของความสำเร็จ การพึ่งพิงระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี การลงทุนปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ การมีกำลังแรงงานที่มีคุณภาพสูง การดึงดูดการลงทุนของต่างชาติ การแข่งด้านการให้บริการในตลาดโลก การใช้ระบบคุณภาพในการควบคุมประสิทธิภาพการทำงาน การเอาใจใส่ต่อสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม การปรับเปลี่ยนโยบายอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับสภาวะและเงื่อนไขทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป สรุป รัฐบาลเล่นบทบาทควบคุมและแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจอย่างเต็มที่
ความพัฒนาทางเศรษฐกิจ (6) อุปสรรคที่ขัดขวางไม่ให้ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของรัฐบาลในการควบคุมและแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจ ความสำเร็จทางเศรษฐกิจ สร้างความชอบธรรมและความแข็งแกร่งของรัฐบาล วัฒนธรรมแบบขงจื้อ
ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ (Confucianism) ซึ่งประกอบด้วยหลักการสำคัญอย่างน้อย 3 ประการ คือ ก. มนุษย์เกิดมามีความสามารถแตกต่างกัน ดังนั้น จึงควรมีการปกครองโดย “บุคคลที่ดีที่สุด (Superior Man)” ทางด้านศีลธรรมและมีความสามารถสูงสุด ข. เป้าหมายของสังคมก็คือ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และมีเสถียรภาพ ซึ่งตามหลักขงจื้อนั้นเน้นหนักการเคารพเชื่อฟังผู้มีอำนาจหน้าที่ตามลำดับชั้น ที่ปกครองอย่างเมตตากรุณา เยี่ยงพ่อปกครองลูก
ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ (Confucianism) ค. การยกย่องจิตวิญญาณของชุมชน การให้ความสำคัญแก่ชุมชน (Communitarianism) หลักขงจื้อที่ส่งเสริมครอบครัวที่พ่อบ้านเป็นใหญ่ และความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดา การรู้จักพึ่งตนเอง การเน้นหลักคุณธรรม การให้ความสำคัญต่อการศึกษา และพฤติกรรมที่มีศีลธรรม
ความพัฒนาทางการเมือง (1) “ระบบการเมืองของสิงคโปร์มีความมั่นคงและเสถียรภาพ มากกว่ามีความเป็นประชาธิปไตย” ความสำเร็จทางการเมือง 1996 เป็นรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในโลก 1997 มีระบบศาลยุติธรรมที่ดีที่สุด 2006 ปลอดปัญหาฉ้อราษฎร์บังหลวง(5/163ประเทศ) 2010 ปลอดปัญหาฉ้อราษฎร์บังหลวง(อันดับ 1) 2008 ความเป็นประชาธิปไตย(82/167ประเทศ) เสรีภาพด้านสื่อมวลชน(146/168ประเทศ)
ความพัฒนาทางการเมือง (2) เครื่องบ่งชี้ความมั่งคงและเสถียรภาพทางการเมือง การมีผู้นำที่ดีมีประสิทธิภาพ การมีคณะรัฐมนตรีและระบบราชการที่เน้นหนักเรื่องคุณธรรมนิยม การมีระบบกฎหมายและระบบศาลที่มีความยุติธรรม รับผิดชอบ ดำเนินงานอย่างรวดเร็ว การมีระบบรัฐสภาที่มีสมาชิกหลายประเภท มีตัวแทนของชนกลุ่มใหญ่ ชนกลุ่มน้อย และคนจากสาขาอาชีพต่างๆ
The Top 30 highest paid politicians in the world are all from Singapore(2010) Elected President SR Nathan – S$3.9 million(1.54million) Prime Minister Lee Hsien Loong - S$3.8 million(2.2million) Minister Mentor Lee Kuan Yew - S$3.5 million Senior Minister Goh Chok Thong - S$3.5 million Senior Minister Prof Jayakumar - S$3.2 million DPM & Home Affairs Minister Wong Kan Seng - S$2.9 million DPM & Defence Minister Teo Chee Hean - S$2.9 million Foreign Affairs Minister George Yeo - S$2.8 million
National Development Minister Mah Bow Tan - S$2.7 million PMO Minister Lim Boon Heng - S$2.7 million Trade and IndustryMinister Lim Hng Kiang - S$2.7 million PMO Minister Lim Swee Say - S$2.6 million Environment Minister & Muslim Affairs Minister Dr. Yaccob Ibrahim - S$2.6 million Health Minister Khaw Boon Wan - S$2.6 million Finance Minister S Tharman - S$2.6 million Education Minister & 2nd Minister for Defence Dr. Ng Eng Hen - S$2.6 million
Community Development Youth and Sports Minister – Dr Community Development Youth and Sports Minister – Dr. Vivian Balakrishman - S$2.5 million Transport Minister & 2nd Minister for Foreign Affairs Raymond Lim Siang Kiat - S$2.5 million Law Minister & 2nd Minister for Home Affairs K Shanmugam - S$2.4 million Manpower Minister Gan Kim Yong - S$2.2 million PMO Minister Lim Hwee Hwa - S$2.2 million Acting ICA Minister – Lui Tuck Yew - S$2.0 million
23 to 30 = Senior Ministers of State and Ministers of State – each getting between S$1.8 million to S$1.5 million. Note: 1. The above pay does not include MP allowances, pensions and other sources of income such as Directorship, Chairmnship, Advisory, Consultancy, etc to Gov-linked and gov-related organisations or foreign MNCs such as Citigroup (for Lee Kuan Yew), etc.
ความพัฒนาทางการเมือง (3) การมีผู้นำที่ดีมีประสิทธิภาพ (1) ลี กวน ยิว (1959-1990)
ความพัฒนาทางการเมือง (4) การมีผู้นำที่ดีมีประสิทธิภาพ (2) โก๊ะ จ๊ก ตง (1990-2004)
GDP real growth rate (%) 1960-1990 9.4% 2003 1.1% 1960-1999 8.0% 2004 8.3% 1996 6.5% 2005 6.4% 1997 7.8% 2006 7.9% 1998 1.5% 2007 7.4% 1999 2008 6.7% 2000 2010 14.5% 2001 2.4% 2002 2.2%
ความพัฒนาทางการเมือง (5) การมีผู้นำที่ดีมีประสิทธิภาพ (3) ลี เซียน ลุง (2004-ปัจจุบัน)
ความพัฒนาทางการเมือง (6) การมีคณะรัฐมนตรีและระบบราชการที่ดี หลักคุณธรรมนิยม (Meritocracy) หลักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ความก้าวหน้านิยม (Progressivism) หลักพหุนิยมทางวัฒนธรรม (Multiculturalism) การมีระบบกฎหมายและระบบศาลที่ดี “เมืองกฎหมาย” Internal Security Act Societies Act
หลักคุณธรรมนิยม (Meritocracy) หลักคุณธรรมนิยม เป็นหลักที่เชื่อว่า ฐานะทางสังคมและทางอาชีพของแต่ละบุคคลนั้นกำหนดโดยความสามารถหรือผลงานของบุคคลนั้น ไม่ได้กำหนดหรือได้มาจากอิทธิพลทางเศรษฐกิจหรือการเมองของเชื้อชาติ ชนชั้น หรือตระกูล จึงเป็นวิธีการที่ยุติธรรม เป็นวัตถุวิสัยและเป็นวิทยาศาสตร์
หลักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) หลักปฏิบัตินิยม หมายถึง การเลือกและการดำเนินนโยบายหรือแนวทางที่ปฏิบัติได้ มีประโยชน์ สมเหตุสมผล ปฏิบัติง่ายและสะดวก โดยคำนึงถึงการปฏิบัติจริงมากกว่าเน้นหนักที่ทฤษฎี
ความก้าวหน้านิยม (Progressivism) อุดมการณ์เรื่องความก้าวหน้านิยมของลี มีรากฐานมาจากวัฒนธรรมของตะวันตก ที่สนับสนุนให้บุคคลและสังคมต้องก้าวไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา และมีความจำเป็นที่จะต้องบรรลุความสำเร็จ เขาเคยพูดถึง “จิตใจที่ก้าวหน้า” หมายถึง “ความปรารถนาที่จะปรับปรุงตนเองเสมอ โดยต้องทำวันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวาน และให้ดีน้อยกว่าวันพรุ่งนี้”
หลักพหุนิยมทางวัฒนธรรม (Multiculturalism) หลักการเคารพและยอมรับกลุ่มเชื้อชาติและวัฒนธรรมต่างๆที่หลากหลายในสังคม ว่ามีความเท่าเทียมกันภายใต้กฏหมาย
ความพัฒนาทางการเมือง (7) การมีระบบรัฐสภาที่มีตัวแทนของคนหลายกลุ่ม สส. ที่มาจากการเลือกตั้ง สส. เขตเลือกตั้ง สส.เดี่ยว สส. เขตเลือกตั้ง สส.กลุ่ม สส. ที่มาจากการแต่งตั้ง สส. ที่มิได้เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งใด
ความพัฒนาทางการเมือง (8) องค์ประกอบของรัฐประชาธิปไตยตามเกณฑ์สากล การเลือกตั้งอย่างเสรีและบริสุทธิ์ยุติธรรม สิทธิและเสรีภาพของประชาชน รัฐบาลที่โปร่งใสและรับผิดชอบต่อประชาชน สังคมที่เป็นประชาธิปไตย หรือ “ประชาสังคม”
Democracy index by regime type The following table constitutes the number of countries in each category according to 2008 survey. Regime Type Countries % of countries % of world population Full democracies 30 18.0 14.4 Flawed democracies 50 29.9 35.5 Hybrid regimes 36 21.6 15.2 Authoritarian regimes 51 30.5 34.8
World population refers to the total population of the 167 countries that are covered. Since this survey excludes only a few microstates, this is nearly equal to the entire actual estimated world population in 2008. Index Electoral Process and Pluralism Functioning of Government Political Participation Political Culture Civil liberties
2008 ranking No. Location Index Category 1 Sweden 9.88 Full democracy Norway 9.68 3 Iceland 9.65 4 Netherlands 9.53 5 Denmark 9.52 6 Finland 9.25 7 New Zealand 9.19 8 Switzerland 9.15 9 Luxembourg 9.10 10 Australia 9.09 11 Canada 9.07 12 Ireland 9.01 13 Germany 8.82 14 Austria 8.49
15 Spain 8.45 Full democracy 16 Malta 8.39 17 Japan 8.25 18 United States 8.22 19 Czech Republic 8.19 20 Belgium 8.16 21 United Kingdom 8.15 22 Greece 8.13 23 Uruguay 8.08 24 France 8.07 25 Portugal 8.05 26 Mauritius 8.04 27 Costa Rica 28 South Korea 8.01 29 Italy 7.98 30 Slovenia 7.96
31 South Africa 7.91 Flawed democracy 32 Chile 7.89 33 Taiwan 7.82 34 Cape Verde 7.81 35 India 7.80 36 Cyprus 7.70 37 Estonia 7.68 38 Israel 7.48 39 Botswana 7.47 40 Hungary 7.44 41 Brazil 7.38 42 Lithuania 7.36 43 Panama 7.35 44 Slovakia 7.33 45 Poland 7.30 46 Latvia 7.23
47 Timor-Leste 7.22 Flawed democracy 48 Trinidad and Tobago 7.21 49 Jamaica 50 Romania 7.06 51 Croatia 7.04 52 Bulgaria 7.02 53 Ukraine 6.94 54 Thailand 6.81 55 Mexico 6.78 56 Argentina 6.63 57 Sri Lanka 6.61 58 Mongolia 6.60 59 Suriname 6.58 60 Colombia 6.54 61 Papua New Guinea 62 Moldova 6.50
63 Serbia 6.49 Flawed democracy 64 Namibia 6.48 65 Montenegro 6.43 66 Paraguay 6.40 67 El Salvador 68 Malaysia 6.36 69 Indonesia 6.34 70 Peru 6.31 71 Lesotho 6.29 72 Macedonia 6.21 73 Dominican Republic 6.20 74 Honduras 6.18 75 Bolivia 6.15 76 Guyana 6.12 77 Philippines 78 Nicaragua 6.07
79 Guatemala 6.07 Flawed democracy 80 Benin 6.06 81 Albania 5.91 Hybrid regime 82 Singapore 5.89 83 Mali 5.87 84 Hong Kong 5.85 85 Palestinian Authority 5.83 86 Bosnia and Herzegovina 5.70 87 Turkey 5.69 88 Ecuador 5.64 89 Lebanon 5.62 90 Madagascar 5.57 91 Bangladesh 5.52 92 Mozambique 5.49 93 Senegal 5.37 94 Ghana 5.35
95 Venezuela 5.34 Hybrid regime 96 Tanzania 5.28 97 Zambia 5.25 98 Liberia 99 Malawi 5.13 100 Fiji 5.11 101 Uganda 5.03 102 Cambodia 4.87 103 Kenya 4.79 104 Georgia 4.62 105 Ethiopia 4.52 106 Burundi 4.51 107 Armenia 4.48 108 Russia 4.46 109 Pakistan 4.30 110 Haiti 4.19
111 Gambia 4.19 Hybrid regime 112 Sierra Leone 4.11 113 Bhutan 4.09 114 Kyrgyzstan 4.05 115 Nepal 116 Iraq 4.00 117 Jordan 3.93 Authoritarian regime 118 Mauritania 3.91 119 Egypt 3.89 120 Morocco 3.88 121 Rwanda 3.71 122 Burkina Faso 3.60 123 Comoros 3.58 124 Nigeria 3.53 125 Cuba 3.52 126 Cameroon 3.46
127 Kazakhstan 3.45 Authoritarian regime 128 Niger 3.41 129 Kuwait 3.39 130 Bahrain 3.38 131 Angola 3.35 132 Belarus 3.34 133 Algeria 3.32 134 Côte d'Ivoire 3.27 135 Azerbaijan 3.19 136 China 3.04 137 Swaziland 138 Afghanistan 3.02 139 Gabon 3.00 140 Oman 2.98 141 Tunisia 2.96 142 Yemen 2.95
143 Republic of the Congo 2.94 Authoritarian regime 144 Qatar 2.92 145 Iran 2.83 146 Sudan 2.81 147 United Arab Emirates 2.60 148 Zimbabwe 2.53 149 Vietnam 150 Tajikistan 2.45 151 Togo 2.43 152 Djibouti 2.37 153 Eritrea 2.31 154 Democratic Republic of the Congo 2.28 155 Equatorial Guinea 2.19 156 Syria 2.18 157 Laos 2.10 158 Guinea 2.09
159 Libya 2.00 Authoritarian regime 160 Guinea-Bissau 1.99 161 Saudi Arabia 1.90 162 Central African Republic 1.86 163 Myanmar 1.77 164 Uzbekistan 1.74 165 Turkmenistan 1.72 166 Chad 1.52 167 North Korea 0.86
Asia-Pacific
ความพัฒนาทางการเมือง (9) การเลือกตั้งอย่างเสรีและบริสุทธิ์ยุติธรรม (1) พรรคการเมือง พรรคกิจประชา (PAP) พรรคกรรมกร (WP) พรรคประชาธิปไตยสิงคโปร์ (SDP) พรรคประชาชนแห่งสิงคโปร์ (SPP) พรรคเอกภาพแห่งชาติ (NSP) พันธมิตรประชาธิปไตยแห่งสิงคโปร์ (SDA)
ความพัฒนาทางการเมือง (10) การเลือกตั้งอย่างเสรีและบริสุทธิ์ยุติธรรม (2) ลักษณะพรรค ระบบพรรคเด่นเพียงพรรคเดียว (Dominant One Party System) ระบบพรรคครองความเป็นจ้าว (Hegemonic Party System)
ความพัฒนาทางการเมือง (11) การเลือกตั้งอย่างเสรีและบริสุทธิ์ยุติธรรม (3) ผลการเลือกตั้ง (ทั้ง 11 ครั้ง) สมัย ลี กวน ยิว (6 ครั้งแรก) ทำไม PAP จึงชนะทั้ง 6 ครั้ง? ทำไมพรรคเล็กเริ่มได้คะแนนเสียง? สมัย โก๊ะ จ๊ก ตง การเลือกตั้ง 1991, 1997, 2001 สมัย ลี เซียน ลุง การเลือกตั้ง 2006, 2011
การเลือกตั้งทั่วไป (นับจากที่สิงคโปร์เป็นสาธารณรัฐในปี 1965) ครั้ง กำหนดเวลาการเลือกตั้งทั่วไป จำนวนที่นั่งในรัฐสภา จำนวนพรรคที่ส่งผู้สมัคร จำนวนผู้สมัครอิสระ พรรคที่ได้รับคะแนนสูงสุด จำนวนที่นั่งที่ได้รับในรัฐสภา ร้อยละของคะแนนเสียงทั้งหมด 1 เมษายน 1968 58 2 5 กิจประชา 86.72 กันยายน 1972 65 6 70.43 3 ธันวาคม 1976 69 7 74.09 4 ธันวาคม 1980 75 8 - 77.66 ธันวาคม 1984 79 9 77 64.83
6 กันยายน 1988 81 8 4 กิจประชา 80 63.17 7 สิงหาคม 1991 77 60.97 ครั้ง กำหนดเวลาการเลือกตั้งทั่วไป จำนวนที่นั่งในรัฐสภา จำนวนพรรคที่ส่งผู้สมัคร จำนวนผู้สมัครอิสระ พรรคที่ได้รับคะแนนสูงสุด จำนวนที่นั่งที่ได้รับในรัฐสภา ร้อยละของคะแนนเสียงทั้งหมด 6 กันยายน 1988 81 8 4 กิจประชา 80 63.17 7 สิงหาคม 1991 77 60.97 มกราคม 1997 83 - 64.98 9 พฤศจิกายน 2001 84 5 2 82 75.29 10 พฤษภาคม 2006 66.60
ผลการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 11 เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.2011[1] พรรคการเมืองและ กลุ่มพันธมิตร หัวหน้าพรรค จำนวนที่ส่ง ผู้สมัคร ลงแข่งขัน จำนวนที่นั่ง ที่ได้รับในรัฐสภา ร้อยละของ คะแนนเสียง ทั้งหมด พรรคกิจประชา (PAP) ลี เซียน ลุง 87 81 60.14 พรรคกรรมกร (WP) โล เตีย เกียง 23 6 12.82 พรรคเอกภาพแห่งชาติ (NSP) โก๊ะ เม็ง เซ็ง 24 12.04 พรรคประชาธิปไตยแห่งสิงคโปร์ (SDP) ชี ซุน จวน 11 4.83 พรรคปฏิรูป (Reform Party) เค็นเน็ต เจยารัตนัม 4.28 พรรคประชาชนสิงคโปร์ (SPP) เซียม ซี ตง 7 3.11 กลุ่มพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งสิงคโปร์ (SDA) เด็สมอนด์ ลิม 2.78
ความพัฒนาทางการเมือง (12) สิทธิเสรีภาพของปัจเจกชน (1) การใช้ระบบศาลฟ้องร้องข้อพิพาทหมิ่นประมาท - นิตยสาร Far Eastern Economic Review จ่าย 117,600 ดอลลาร์ - 1994 International Herald Tribune จ่าย 604,000 ดอลลาร์ - 2002 Bloomberg จ่าย 380,000 ดอลลาร์ - 1988 Francis Seow ต้องหนีไปต่างประเทศ - 1997 F.P Jeyaretnam ถูกเรียกค่าเสียหาย 100,000 ดอลลาร์ - 1997 ตัว เลียง ฮง ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาท โก๊ะ - 1994 ซี ซุน จวน ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาท ลี และโก๊ะ
ความพัฒนาทางการเมือง (13) สิทธิเสรีภาพของปัจเจกชน (2) การจับกุมคุมขัง - 1987 คนสิงคโปร์ 22คน ข้อหาเป็นคอมมิวนิสต์ - 1988 Francis Seow นักการเมืองฝ่ายค้าน - 1987 Teo Soh Lung ข้อหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ - 1987 Anthony Lester ข้อหาแทรกแซงกิจการภายในสิงคโปร์ การขับไล่ทูตต่างชาติ/เรียกทูตสิงคโปร์กลับประเทศ - 1988 ขับทูตUS E. Mason Henrickson - เรียกทูตสิงคโปร์กลับ Robert Chua
ความพัฒนาทางการเมือง (14) รัฐบาลที่โปร่งใสและรับผิดชอบต่อประชาชน ค่านิยมเอเชีย (Asian Values) ประชาธิปไตยแบบเอเชีย (Asian Democracy) อภิชนนิยม (Elitism) การพัฒนาให้เป็นประชาธิปไตย (Democratization) “ประชาสังคม” ชนชั้นกลาง ชนชั้นกรรมกร สมาคมของกลุ่มเชื้อชาติต่างๆ ภาคธุรกิจ/ภาคเอกชน สื่อมวลชน และวงการศิลปะ
ค่านิยมเอเชีย (Asian values) ตามความคิดของผู้นำสิงคโปร์นั้น ก็คือการทำงานหนัก การประหยัด ความซื่อสัตย์ การมีระเบียบวินัย การให้ความสำคัญต่อการศึกษา และการค้าขาย การหวงใยในเสถียรภาพของครอบครัว ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ
ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ (Confucianism) ซึ่งประกอบด้วยหลักการสำคัญอย่างน้อย 3 ประการ คือ ก. มนุษย์เกิดมามีความสามารถแตกต่างกัน ดังนั้น จึงควรมีการปกครองโดย “บุคคลที่ดีที่สุด (Superior Man)” ทางด้านศีลธรรมและมีความสามารถสูงสุด ข. เป้าหมายของสังคมก็คือ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และมีเสถียรภาพ ซึ่งตามหลักขงจื้อนั้นเน้นหนักการเคารพเชื่อฟังผู้มีอำนาจหน้าที่ตามลำดับชั้น ที่ปกครองอย่างเมตตากรุณา เยี่ยงพ่อปกครองลูก
ความเชื่อในลัทธิขงจื้อ (Confucianism) ค. การยกย่องจิตวิญญาณของชุมชน การให้ความสำคัญแก่ชุมชน (Communitarianism) หลักขงจื้อที่ส่งเสริมครอบครัวที่พ่อบ้านเป็นใหญ่ และความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดา การรู้จักพึ่งตนเอง การเน้นหลักคุณธรรม การให้ความสำคัญต่อการศึกษา และพฤติกรรมที่มีศีลธรรม
ค่านิยมร่วม (Shared values) ของชาวสิงคโปร์ มีสาระสำคัญ 5ประการคือ ชาติสำคัญกว่าชุมชน และสังคมสำคัญกว่าปัจเจกบุคคล ครอบครัวเป็นหน่วยพื้นฐานของสังคม ให้การสนับสนุนชุมชนในขณะเดียวกันเคารพต่อปัจเจกบุคคล ส่งเสริมฉันทามติไม่ใช่ความขัดแย้ง ส่งเสริมความประสานกลมกลืนด้านเชื้อชาติและศาสนา
ประชาธิปไตยแบบเอเชีย (Asian Democracy) ชาติสำคัญกว่าชุมชน และสังคมสำคัญกว่าปัจเจกบุคคล ยอมรับนับถือผู้มีอำนาจหน้าที่ ปกครองตามลำดับชั้น ประสิทธิภาพและความเข้มแข็งของพรรคการเมือง ระบบราชการ และรัฐบาล
อภิชนนิยม (Elitism) คือ ความเชื่อที่ว่าในระบบการเมือง ไม่ว่าจะเป็นระบบแบบใดนั้นจะมีเพียงคนกลุ่มเล็กๆ ในระดับบนสุดที่ทำหน้าที่ตัดสินใจในเรื่องสำคัญๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคม อภิชนนิยมก็เป็นหลักการสำคัญของลัทธิขงจื้อที่เชื่อว่า มนุษย์มีขีดความสามารถแตกต่างกัน บางคนเกิดมาเพื่อปกครองผู้อื่น และคนอื่นๆ เกิดมาเพื่อถูกปกครอง ลีได้เสนอแนวคิดเรื่อง “สังคมทรงปิรามิด (Social Pyramid)” ซึ่งชั้นสุดยอดประกอบด้วย ผู้นำระดับสูง ชั้นกลางประกอบด้วย ผู้บริหารที่ดี และชั้นฐานประกอบด้วย มวลชนที่หนักความเป็นพลเมืองอย่างสูง
บทสรุป: แนวโน้มในอนาคต “จำเป็นต้องมีประชาธิปไตยในรูปแบบเดียวกันทั่วโลกหรือไม่?” “ประชาธิปไตยแนวเอเชีย เหมาะสำหรับสิงคโปร์มากกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตกหรือไม่?”