การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ บริษัทกรุงไทยแอกซ่าประกันชีวิต จำกัด สำนักงานตัวแทนประกันชีวิตสาขาอยุธยา คุณปราสาทพร ลิมปกุล โดย นางสาวภาวิดา.
Advertisements

ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันทำให้บริษัทต่างๆ ต้อง ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษในการลงทุนสำหรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้หันมาสร้างประโยชน์จาก ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเดิมให้มากยิ่งขึ้น.
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
บริษัท สุรีย์ภรณ์ไหมไทย จำกัด
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
SMS News Distribute Service
พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะที่ปรึกษากรมการประกันภัย

1. หลักการและเหตุผล เหตุผลของการกำกับดูแล Maintenance of efficient, fair, safe and stable insurance market for the benefit and protection of policyholders IAIS (2003) on Insurance Core Principle and Methodology เหตุผลที่เลือกประยุกต์ใช้แนวทาง IAIS เป็นแนวทางสากล เป็นแนวทางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก สามารถประยุกต์ใช้กับประเทศไทยได้

2. การประกอบธุรกิจประกันภัย รับเบี้ยประกัน บริหารงาน บริหารสินทรัพย์ บริหารสภาพคล่อง ปฏิบัติตามภาระผูกพันของกรมธรรม์ แต่ การทำธุรกิจย่อมมีความเสี่ยงทางธุรกิจ

3. ความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัทประกันภัย โอกาสที่บริษัทดำเนินธุรกิจ แต่ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ “คาด” แล้วเกิด “ความเสียหาย” ขึ้น ความเสียหาย ก. เสียทรัพย์ ขาดทุน ข. เสียชื่อเสียง ขาดความน่าเชื่อถือ

4. ประเภทของความเสี่ยงตาม IAIS Classifications กลุ่ม ก Technical Risks หรือ Liability Risks ก.1 Current Risks ที่สำคัญคือ Insurance Risks ก.2 Special Risks เป็นกลุ่ม Model Risks กลุ่ม ข Investment Risks หรือ Asset Risks ข.1 Market Risks ข.2 Credit Risks กลุ่ม ค Non-Technical Risks ค.1 Liquidity Risks ค.2 Operational Risks

5. แนวทางการกำกับของ IAIS Risk-Based Capital Adequacy Supervision Market Discipline หรือ Corporate Governance รายละเอียดใน IAIS (2003) on Insurance Core Principle and Methodology

6. Risk-Based Capital Adequacy หลักการและเหตุผล การทำธุรกิจมีความเสี่ยงที่อาจขาดทุน ผลขาดทุนจะไปตัดทุน เมื่อทุนหมด ผู้เอาประกันย่อมถูกกระทบ ดังนั้น บริษัทจึงต้องมีเงินทุนมากพอ ที่จะรองรับผลขาดทุนซึ่งอาจจะเกิดขึ้น

7. หลักการ หากธุรกิจที่ประกอบมีความเสี่ยงมาก บริษัทย่อมต้องมีทุนมาก

8. ประโยชน์ที่บริษัทประกันภัยจะได้รับ การคุ้มครองผู้เอาประกัน การบริหารพฤติกรรมความเสี่ยงของบริษัท และการดำรง economic capital เพื่อการประกอบธุรกิจด้วยความมั่นคงยั่งยืน การดูแล (supervision) ไม่ใช่ การกำกับ (regulation) บริษัทจึงมีทางเลือกได้มากขึ้นในการทำธุรกิจภายใต้ พรบ.

9. ต้นทุนของบริษัท อาจ สูงขึ้น ไม่จำเป็น เพราะ บริษัทอาจเลือกที่จะเสี่ยงน้อย บริษัทจึงลดต้นทุนลงได้ แต่หากบริษัทเลือกที่จะเสี่ยงมาก บริษัทต้องยอมรับต้นทุนที่สูงขึ้น ต้นทุนของความเสี่ยงมีอยู่แล้ว ถ้าบริษัทเลือกที่จะเสี่ยงมาก แต่ต้นทุนบริษัทยังเท่าเดิม แสดงว่าบริษัทโอนต้นทุนไปให้ผู้เอาประกันและประชาชนผู้เสียภาษี ซึ่งเป็นการไม่เป็นธรรม

10. เบี้ยประกันอาจสูงขึ้นและประชาชนจะเดือดร้อน ไม่จำเป็น เบี้ยประกันถูกกำหนดภายใต้ ภาวะการแข่งขัน ต้นทุน และการกำกับดูแล ระดับความเสี่ยงที่สูงขึ้นเป็นทางเลือกของบริษัทและลูกค้า หากบริษัทและลูกค้าเลือกความเสี่ยงสูง ต้นทุนย่อมสูง ค่าเบี้ยประกันย่อมต้องสูงขึ้น จึงจะ เป็นธรรม กับทุกคน

11. แนวทางปัจจุบัน กับการประยุกต์ใช้แนวทาง IAIS นิยามของเงินทุน สินทรัพย์ - หนี้สิน ทุนและเงินทุน ซึ่งตรงตามหน้าที่ซึ่งประสงค์ ความเสี่ยงที่พิจารณา Insurance Risks Insurance Risks + Investment Risks + Adjustments ค่าความเสี่ยง ไม่ชัดเจน คิดจากเงินสำรองประกันภัยหรือเบี้ยประกัน มีผลการศึกษาที่ทำภายใต้เงื่อนไขการทำธุรกิจในประเทศไทยรองรับ

12. ทุนและเงินกองทุน เงินกองทุนชั้นที่ 1 1. เป็นแหล่งเงินทุนถาวรและไม่มีข้อจำกัดในการใช้ 2. สามารถรองรับผลขาดทุนได้จริง 3. ไม่บังคับให้บริษัทจ่ายผลตอบแทน 4. มีบุริมสิทธ์เหนือทรัพย์ในลำดับสุดท้าย เงินกองทุนชั้นที่ 2 1. ขาดคุณสมบัติบางข้อ 2. ถูกจำกัดเพดาน

13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน หลักการ ทุน ต้องไม่น้อยกว่า ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง) เงินกองทุนที่เพียงพอคิดเป็นจำนวนเท่าของผลขาดทุน เงินกองทุน อัตราส่วนที่พิจารณา = ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น

13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน

13. ระดับที่ “เพียงพอ” ของเงินกองทุน

14. ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง) 14. ผลขาดทุนสูงสุดอันอาจจะเกิดขึ้น (ค่าความเสี่ยง) คำนวณจาก ทฤษฎี การเงิน การประกันภัย คณิตศาสตร์และสถิติ (พยายาม) ใช้ ข้อมูลจริง ของประเทศไทย คำนวณ unexpected loss ณ ระดับ ความเชื่อมั่น 99% ขึ้นกับ ประเภทของความเสี่ยง ของการทำธุรกรรม Insurance Risks Investment Risks

15. ค่าความเสี่ยงจากการประกันภัย การประกันวินาศภัย Reserving Risks ใช้ข้อมูลการบันทึกหนี้สินไหม เปรียบเทียบกับยอดที่จ่ายจริง Written Premium Risk ใช้ข้อมูล Frequency และ Severity รวมถึง ceilings และ deductions Concentration Risks

15. ค่าความเสี่ยงจากการประกันภัย (ต่อ) การประกันชีวิต Policy Liability Risk ใช้ข้อมูลตารางมรณะ (และ Frequency และ Severity รวมถึง ceilings และ deductions สำหรับการประกันสุขภาพและอื่น ๆ) Interest Rate Risks สำหรับการสะสมทรัพย์ Surrender Value Condition ในกรณีที่มีการยกเลิกกรมธรรม์

16. ค่าความเสี่ยงจากการลงทุน ตราสารทุน ตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ ใช้ข้อมูลจากตลาดทุน และเทียบเคียงกับเกณฑ์ กลต. และ กสล. เงินกู้ ใช้ข้อมูลจากตลาดสินเชื่อ บริษัทประกัน และเทียบเคียงกีบเกณฑ์ ธปท. อสังหาริมทรัพย์ การมีฐานะในเงินตราต่างประเทศ

17. แผนงาน 1. การพัฒนากรอบการวิเคราะห์ 2. การพัฒนาตัวแบบจำลอง 3. การเก็บข้อมูลและการกำหนดค่าพารามิเตอร์ 4. การทดสอบและการระบุค่าความเสี่ยง 5. การทำประชาพิจารณ์ 6. การปรับปรุง 7. การเตรียมการประกาศใช้