อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : รู้จักกับสื่อผสม พย. 1205 การสื่อสารและสารสนเทศทางการพยาบาล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงาน คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประยุกต์ใช้สื่อผสม นาย ธีรวัฒน์ พิสัยพันธ์ รหัส
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
1 ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและ องค์ประกอบ. 2 ระบบสื่อประสม (multimedia system)  ระบบสื่อประสม หมายถึง การนำ องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ 212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
สื่อประสมเบื้องต้น.
คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer-Aided Design)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 9 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
Microsoft PowerPoint Part 2
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การเขียนเว็บ Web Editor
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : รู้จักกับสื่อผสม พย. 1205 การสื่อสารและสารสนเทศทางการพยาบาล อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับมัลติมีเดีย คุณสมบัติของมัลติมีเดีย ประโยชน์ของมัลติมีเดีย ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้กับ มัลติมีเดีย การประยุกต์ใช้งาน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนำเสนอมัลติมีเดีย

ทำความรู้จักกับมัลติมีเดีย “มัลติมีเดีย” (Multimedia) มาจากคำว่า “Multus” เป็นภาษาลาติน แปลว่า มาก หลากหลาย ส่วน “มีเดีย” (Media) หมายถึงการสื่อสารข้อมูลผ่านตัวกลาง มัลติมีเดีย จึงหมายถึง การนำองค์ประกอบของสื่อ ชนิดต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน หรือเรียกว่า “สื่อ ประสม”

ทำความรู้จักกับมัลติมีเดีย : ประเภทของสื่อต่างๆ ตัวอักษร (Text) รูปภาพ (Image) และกราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดีโอ (Video) แอนิเมชั่น (Animation)

คุณสมบัติของมัลติมีเดีย Multiple Media - การนำสื่อหลายรูปแบบมา ผสมกัน Non-Linearity – นำเสนอมัลติมีเดียที่ผู้ใช้ สามารถควบคุมการนำเสนอได้อย่างอิสระ “ไม่ใช่เป็นลำดับแบบเส้นตรง” Interactivity – “การโต้ตอบ” ระหว่างผู้ใช้กับ มัลติมีเดีย Digital Representation – แทนข้อมูลด้วย รูปแบบดิจิตอล เพื่อสามารถนำไปใช้งานและ จัดเก็บบนคอมพิวเตอร์ได้ Integrity – “ความสมบูรณ์” การนำเสนอสื่อชนิด ต่างๆในรูปแบบมัลติมีเดียได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ *โดยสื่ออาจจะมีคุณสมบัติด้านใดด้านหนึ่งหรือ อาจมีคุณสมบัติทั้งหมดก็ได้

ประโยชน์ของมัลติมีเดีย ง่ายต่อการใช้งาน สร้างความรู้สึก สร้างเสริมประสบการณ์ เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ คุ้มค่าต่อการลงทุน

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้กับมัลติมีเดีย การพัฒนาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สำหรับมัลติมีเดีย ถูกกำหนดมาตรฐานโดย Multimedia PC Marketing Council (MPC) เพื่อให้การพัฒนา มัลติมีเดียของผู้ผลิตต่างๆ มีความเป็น มาตรฐานสากล แบ่งรายละเอียดการแบ่งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำหรับพัฒนาและแสดงผลมัลติมีเดียบนคอมพิวเตอร์ เป็น 2 กลุ่ม 1) Multimedia Playback ใช้แสดงผลมัลติมีเดีย 2) Multimedia Production ใช้ผลิตสื่อมัลติมีเดีย

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้กับมัลติมีเดีย : Multimedia Playback CPU, RAM Hard disk Monitor CD-ROM, DVD-ROM Drive Sound card Input Devices Software Web Browser

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้กับมัลติมีเดีย : Multimedia Production CPU, RAM (ต้องประสิทธิภาพสูง) Hard Disk (มีพื้นที่ขนาดใหญ่) Monitor CD-DVD Writer Sound Card Input Devices Software : Editing Software, Authoring Software Web Browser หรือโปรแกรมในการสร้าง Web Application

การประยุกต์ใช้งาน Entertainment (ความบันเทิง) เช่น เกม ภาพยนตร์ เพลง Education (การศึกษา) เช่น E-Learning Training (การฝึกอบรม) เช่น Computer Based Training (CBT) การฝึกและพัฒนาบุคลากรใน องค์กรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ Presentation (การนำเสนอข้อมูล) เช่น นำเสนอกิจกรรมขององค์กร Information (บริการข้อมูล) เช่น นำเสนอข้อมูล ห้องสมุดด้วย Kiosk Business (ธุรกิจ) เช่น การแสดงรายละเอียด สินค้าหรือบริการ

การประยุกต์ใช้งาน(ต่อ) Travel (การท่องเที่ยว) เช่น นำเสนอที่ตั้งสถานที่ ท่องเที่ยว ห้องพัก กิจกรรม Electronic Shopping (การซื้อขายสินค้า อิเล็กทรอนิกส์) Communication (การสื่อสาร) เช่น การประชุม ทางไกล การใช้เทคโนโลยีแบบ Streaming Medicine (การแพทย์) เช่น การเอ็กซเรย์ คอมพิวเตอร์, ระบบ Tele Medicine Engineering (วิศวกรรม) เช่น การออกแบบ เครื่องจักร วงจรไฟฟ้า อาคาร Content Base Storage and Retrieval : CBSR (การจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล) เช่น การเก็บข้อมูล ด้านอาชญากรรมของตำรวจเพื่อระบุตัวบุคคล (ลายนิ้วมือ ภาพถ่าย วีดีโอ)

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนำเสนอมัลติมีเดีย ความต้องการของผู้ใช้งาน (Demand from Customer) เช่น การชมภาพยนตร์ผ่านเว็บไซต์ ผู้ใช้ต้องการความสามารถในการตอบสนองด้วย การบีบอัดข้อมูล (Compression) โดยปกติไฟล์ มัลติมีเดียจะมีขนาดใหญ่ ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมาก ทำให้การส่งและ แสดงผลช้า จำเป็นต้องมีการบีบอัดข้อมูล ประสิทธิภาพในการประมวลผล (Processing Power) เช่น การประมวลผลแอนิเมชั่นแบบ 3D จะใช้พลังในการประมวลผลมากกว่าแบบ 2D และ ยังต้องมีระบบการแสดงผลที่มีประสิทธิภาพสูงด้วย

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนำเสนอมัลติมีเดีย (ต่อ) มาตรฐาน (Standard) ด้านฮาร์ดแวร์ เช่น สาย พอร์ตสำหรับเชื่อมต่อ ด้านซอฟต์แวร์ เช่น รูปแบบไฟล์ โปรโตคอลสำหรับส่งข้อมูล มาตรฐานการบีบอัด แบนด์วิธ (Bandwidth) ประสิทธิภาพการนำเสนอ มัลติมีเดียบนอินเทอร์เน็ตขึ้นอยู่กับขนาดของแบนด์ วิธและความเร็วในการส่งข้อมูลเป็นหลัก การเผยแพร่ (Distribute Mechanism) นอกจาก นำเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต ก็ยังนิยมนำเสนอผ่าน อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลพกพา เช่น CD, DVD, Blu- ray

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) พย. 1205 การสื่อสารและสารสนเทศทางการพยาบาล อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประพันธ์ สื่อมัลติมีเดีย Authoring Metaphor Authoring Tool Virtual Reality (VR)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) คือการสร้าง งานด้านมัลติมีเดีย ด้วยการนำเสนอ หลากหลายรูปแบบมารวบรวมและ ผสมผสานเข้าด้วยกันโดยใช้ซอฟต์แวร์ ประเภท Authoring Tool

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย : Multimedia Authoring กับ Multimedia Programming การพัฒนามัลติมีเดียแอปพลิเคชั่น สามารถใช้ได้ทั้ง เครื่องมือการ ประพันธ์และการเขียนโปรแกรม Authoring Tool จะผลิตงานได้ รวดเร็วกว่า และสะดวกสบาย มากกว่าการเขียนโปรแกรม Programming จะมีความยุ่งยาก ซับซ้อนมากกว่า ใช้ความรู้ ความสามารถด้านมากกว่าการใช้ Authoring Tool แต่ข้อดีคือมีความ ยืดหยุ่นสูง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย : แพล็ตฟอร์มและรูปแบบการเผยแพร่มัลติมีเดีย ก่อนจะพัฒนางานมัลติมีเดียต้องคำนึงก่อนว่า จะ นำไปใช้บนแพล็ตฟอร์มใด และเผยแพร่งานใน รูปแบบใด (CD, DVD, Playback Software, Web-Based) เพื่อที่จะสามารถเลือกใช้เครื่องมือใน การพัฒนาได้อย่างถูกต้อง

Authoring Metaphor Authoring Metaphor คือวิธีการสร้าง มัลติมีเดียแอพพลิเคชั่น ตัวอย่างเช่น Slide Show Metaphor เช่น สไลด์ PowerPoint Branching Metaphor ที่เป็น โครงสร้างแบบลำดับชั้นตาม ความสัมพันธ์ เช่น เว็บไซต์ต่างๆ Object Manipulation Metaphor เน้นการลากและวางส่วนประกอบ ต่างๆ คล้ายกับการต่อจิกซอว์

Authoring Metaphor [ต่อ] Spatial Environment Metaphor เป็น การจำลองสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในรูปแบบ 3 มิติ เช่น เกมส์ เป็นต้น Scripting Language Metaphor ใช้ ภาษาสคริปต์เพื่อโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น Flash ActionScript Movie Metaphor เป็นสื่อภาพยนตร์ที่ ผู้ใช้ไม่สามารถโต้ตอบได้ Iconic Metaphor ใช้ไอคอนเพื่อแสดง ขั้นตอนหรือคำสั่งต่างๆ

Authoring Tool เครื่องมือในการพัฒนามัลติมีเดีย แอพพลิเคชั่น มีรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้ Linear Application เป็นการพัฒนา งานมัลติมีเดียแบบเส้นตรง ที่มีลักษณะ เป็น Slide Show ตัวอย่างเช่น MS PowerPoint Object-Oriented Tool ส่วนประกอบ ต่างๆในแอพพลิเคชั่นจะอยู่ในรูปอ็อบ เจ็กต์ แต่ละอ็อบเจ็กต์มีคุณสมบัติที่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสำหรับสร้างเกมส์ทั่วไป

Authoring Tool [2] Frame/Timeline เป็นเครื่องมือที่ ออกแบบมาเพื่อสร้างและจัดการวิดีโอ ซึ่งสามารถจัดการวิดีโอแต่ละเฟรมได้ ตัวอย่างเช่นโปรแกรม MS Movie Maker, Adobe Premiere ส่วน โปรแกรมที่ใช้สร้าง Interactive Animation เช่น Adobe Flash

แนะนำ Authoring Tool ในการสร้าง E-Learning http://www.adobe.com/in/products/captivate.html

Virtual Reality (VR) Virtual Reality หรือ “ความจริงเสมือน” เป็น เทคโนโลยีการจำลองสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ให้ ผู้ใช้รู้สึกเหมือนอยู่ในเหตุการณ์จริง ตัวอย่างเช่น ระบบจำลองการบิน การจำลองการ ผ่าตัด การเล่นเกมส์ที่สมจริงมากขึ้น เป็นต้น ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่คลิปวิดีโอ www.youtube.com/watch?v=9yplHQhaVXU

Virtual Reality