ศูนย์ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงิน คณะทำงานย่อยครั้งที่ 2 9 กุมภาพันธ์ 2553
วาระการประชุม 1 รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน 2 Classification ของ ธปท. 2 ประเด็นหารือ 3
วาระการประชุม 1 รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน 2 Classification ของ ธปท. 2 ประเด็นหารือ 3
ศูนย์ทะเบียน รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล Issuer กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล ศูนย์ทะเบียน Single Point of Contact กลุ่มผู้ให้ข้อมูล รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล Registration ID ISIN Code
บทบาทและหน้าที่ศูนย์ทะเบียน 1 2 3 4 กำหนดรหัสมาตรฐาน และนิยามข้อมูล (Standard / Definition) จัดเก็บ ตรวจสอบติดตาม และปรับปรุงทะเบียนตราสารการเงิน จัดทำ และปรับปรุง โครงสร้างทะเบียนตราสารการเงิน เผยแพร่ข้อมูลทะเบียนตราสารการเงินให้ผู้ร่วมตลาด 5 สร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนทะเบียนตราสารการเงินให้แต่ละองค์กร
Centralized Database & Centralized Management ข้อดี / ข้อเสียแบบรวมศูนย์ Centralized Database & Centralized Management รวมศูนย์ ข้อดี ข้อเสีย Single Point of Contact ของผู้ออก ตราสาร และผู้ใช้ข้อมูล ลดภาระงานที่ซ้ำซ้อน ระหว่างองค์กร สะดวกในการบริหาร จัดการ เช่น การจัดการ รหัสมาตรฐาน และการ กำหนดนิยาม การ ปรับปรุงข้อมูล รวมถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูล จัดทำระบบเดียวใช้งาน ได้ทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง ปรับกระบวนการ จัดการตราสารการเงิน ขององค์กรที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนในการบริหาร จัดการศูนย์ทะเบียนสูง ต้นทุนในการพัฒนา ระบบสูง และใช้ เวลานาน ติดปัญหาเรื่อง Authority
รูปแบบศูนย์ธุรกรรมตราสารการเงิน Issuer กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล ศูนย์ทะเบียน Single Point of Contact กลุ่มผู้ให้ข้อมูล รหัสมาตรฐาน & นิยามข้อมูล Registration ID ISIN Code
กระบวนการทำงานของศูนย์ทะเบียน Issuer/Registrar บันทึกข้อมูลให้แก่ศูนย์ทะเบียน ศูนย์ทะเบียนส่งข้อมูลเพื่อขอ ISIN Code ต่อ TSD และ TSD ส่ง ISIN Code กลับศูนย์ทะเบียน หรือศูนย์ทะเบียน generate ISIN Code และให้ TSD Approve ศูนย์ทะเบียนส่งข้อมูลให้ตลาดรอง (ThaiBMA หรือ SET ตามประเภทตราสาร) เพื่อขออนุมัติการขึ้นทะเบียนในตลาดรอง และตลาดรองอนุมัติการขึ้นทะเบียน และส่งรหัสสำหรับตลาดรองกลับศูนย์ทะเบียน หมายเหตุ องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้ง กลต., ThaiBMA, SET, TSD, TFEX ใช้ข้อมูลจากศูนย์ทะเบียนเพื่อดำเนินการในบทบาทหน้าที่เหมือนเดิม
กระบวนการทำงานของศูนย์ทะเบียน ประเด็นหารือ การส่งข้อมูลจากองค์กรที่เกี่ยวข้องจะมีกระบวนการอย่างไร เช่น การออก ISIN Code, ThaiBMA Code ที่ต้องส่งให้ศูนย์ ระบบงานควรเชื่อมต่ออัตโนมัติหรือไม่ เช่น ส่ง request เพื่อขอ ISIN Code จากระบบงานของ TSD แล้วส่ง ISIN Code ให้ศูนย์และเมื่อ Issuer register ครั้งแรก ทั้งการขออนุญาตขายครั้งแรก และขอจดทะเบียนในตลาดรองเรียบร้อยจะได้ code ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกลับไป
กระบวนการทำงานของศูนย์ทะเบียน ประเด็นหารือ การออกรหัส ISIN Code จะทำเมื่อไร ควรทำอย่างไร ครั้งแรกที่ขออนุญาต ถึงแม้ไม่มีการขายจริง เมื่อมีการขายจริง เช่น กรณีการออกตราสารระยะสั้น จะได้รับอนุญาตเป็นวงเงินรวม(สามารถทยอยออกได้) ควรจะได้ ISIN Code ตอนขออนุญาต (สามารถให้ ISIN Code ได้หรือไม่ เนื่องจากยังไม่มีวันครบกำหนด) หรือตอนขายจริง (รายงานผลการขายปัจจุบัน) ขั้นตอนการทำงานของศูนย์ทะเบียน การออกรหัสอ้างอิงตราสารอื่น ๆ เช่น ThaiBMA Code, CFI (ถ้าใช้) เอกสารต่าง ๆ ที่ผู้ออกต้องส่งให้ กลต., ThaiBMA, TSD
วาระการประชุม 1 รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน 2 Classification ของ ธปท. 2 ประเด็นหารือ 3
วาระการประชุม 1 รูปแบบศูนย์ทะเบียนตราสารการเงิน 2 Classification ของ ธปท. 2 ประเด็นหารือ 3
รหัสมาตรฐาน รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน ISIN Code ThaiBMA Code / SET Code Financial Market Instrument (ISO 10962) รหัสเกี่ยวกับบุคคล
รหัสมาตรฐาน รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน ISIN Code ThaiBMA Code / SET Code Financial Market Instrument (ISO 10962) รหัสเกี่ยวกับบุคคล
รหัสมาตรฐาน ISIN Code ปัจจุบันการ Running No. รหัสบริษัทของ ISIN Code กำหนดโดย TSD ประเด็นหารือ ให้ TSD เป็นผู้กำหนด ISIN Code ให้กับตราสารทุกตราสาร ในกรณีที่มีการเปลี่ยน ISIN Code ต้องมีการเก็บข้อมูล ISIN Code เดิม/ใหม่/เหตุผล/ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ข้อมูลเชื่อมโยงกันได้
รหัสมาตรฐาน ThaiBMA Code / SET Code ประเด็นหารือ ใช้หลักเกณฑ์เหมือน ThaiBMA / SET ในปัจจุบันหรือไม่ ในกรณีที่ชื่อย่อบริษัทไม่ตรงกับ SET Code ควรทำอย่างไร ควรกำหนดมาตรฐานการกำหนดชื่อย่อบริษัทหรือไม่ กรณีที่มีการเปลี่ยนชื่อบริษัท และที่มีการปรับ ISIN Code มีการเปลี่ยน ThaiBMA Code หรือไม่อย่างไร และการเชื่อมโยงข้อมูลทำอย่างไร
รหัสมาตรฐาน ประเด็นหารือ รหัสตราสารการเงินในกรณีที่ปัจจุบันไม่มี ISIN Code Option1 ให้มีการกำหนด ISIN Code สำหรับทุกตราสารการเงิน Option2 Debt: กำหนดให้มี Code มาตรฐาน โดยอาจจะใช้วิธีการกำหนดเช่นเดียวกับ ThaiBMA Code หรือกำหนดมาตรฐานใหม่ Equity: กำหนดให้มี Code มาตรฐาน โดยอาจจะใช้วิธีการกำหนดเช่นเดียวกับ SET Code หรือกำหนดมาตรฐานใหม่
รหัสมาตรฐาน รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน ISIN Code ThaiBMA Code / SET Code Financial Market Instrument (ISO 10962) รหัสเกี่ยวกับบุคคล
รหัสมาตรฐาน Financial Market Instrument (ISO 10962) ประเด็นหารือ ควรใช้ Financial Market Instrument เพิ่มเติมตาม ISO10962 - Classification of Financial Instruments หรือไม่
รหัสมาตรฐาน รหัสเกี่ยวกับตราสารการเงิน ISIN Code ThaiBMA Code / SET Code Financial Market Instrument (ISO 10962) รหัสเกี่ยวกับบุคคล
รหัสเกี่ยวกับบุคคล รหัสอ้างอิงบุคคล / นิติบุคคล (Identification No.) ประเภทรหัสอ้างอิงบุคคล (Unique Id Type) ประเภทนิติบุคคล (Involved Party Type) ประเภทการจดทะเบียน (Registration Type) ประเภทการจัดกลุ่มบุคคลตาม System of National Accounts of United Nations (1993 SNA) Corporation Type
รหัสเกี่ยวกับบุคคล ข้อสรุป
ประเด็นหารือจาก กลต. Common Attributes
Securities Identification – ข้อมูลรหัสตราสาร ISIN Code TTF / Securities / Equity Name TTF มีตราสารประเภทนี้เหลือน้อยมาก ควรเก็บหรือไม่ ข้อเสนอ/รายละเอียด กรณีที่ต้องการนำข้อมูลย้อนหลังเข้าคงต้องเก็บข้อมูล Field นี้
Securities Identification – ข้อมูลรหัสตราสาร warrant มากกว่า 1 รุ่น จะใช้ชื่อซ้ำได้หรือไม่ ข้อเสนอ/รายละเอียด Warrant มีชื่อได้มากกว่า 1 ชื่อหรือไม่ ยกตัวอย่าง ตราสาร 1 ตราสารจะมี 1 ISIN, ThaiBMA Code, และรหัสอ้างอิง อื่น ๆ เป็นการ Identified ตราสารอยู่แล้ว สำหรับชื่อเป็นข้อมูลประกอบสามารถซ้ำได้ (ซึ่งไม่ควรมี) หรือในกรณีที่ 1 ตราสารมีมากกว่า 1 ชื่อ สามารถทำระบบให้รองรับได้
Securities Rating – การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ (?) ข้อเสนอ/รายละเอียด Securities Rating มีเฉพาะตราสารหนี้ ตราสารทุนใช้ Securities Rating ตามบริษัทหรือไม่?
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร Issuer ID Type Code รหัสประเภท Issuer ID (ควรเก็บเพิ่ม ?) ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือในรายละเอียด
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร Issue Type by sector (ปัญหาคำนิยาม sector) ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือในรายละเอียด
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร การจัดกลุ่มหรือนิยามของประเภทนิติบุคคล ตอนนี้ กลต. เก็บข้อมูลไม่ตรงกับ ที่ BOT กำหนด เช่น ก.ล.ต. เก็บเป็นนิติบุคคลไทย นิติบุคคลต่างประเทศ ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือในรายละเอียด
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร ประเภทธุรกิจ จัดกลุ่มตาม sector ของ ตลท. และปัญหาการเปลี่ยนแปลงประเภทธุรกิจ เช่น หน่วยงานที่ใช้เปลี่ยนนิยามของการจัดกลุ่ม ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือในรายละเอียด ในกรณีที่มีความต้องการใช้วันที่ที่เปลี่ยนแปลง Sector อาจจะเก็บข้อมูลเป็น Version ตามการเปลี่ยนแปลง ตราสาร 1 ตราสาร อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้หลาย field และแต่ละ field อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้มากกว่า 1 ครั้ง (การเปลี่ยนแปลงในแต่ละ field อาจจะมีจำนวนครั้งในการเปลี่ยนไม่เท่ากันได้) ทั้งนี้ ระบบจะต้องรองรับการเปลี่ยนแปลงหลาย field ได้ เช่น 1 ตราสารมีการเปลี่ยนแปลงกลุ่ม Sector ของผู้ออก (ต้องเก็บเป็นการเปลี่ยนแปลงในส่วน Issuer) เปลี่ยน ISIN Code (ต้องเก็บเป็นการเปลี่ยนแปลงในส่วนทะเบียนตราสาร) ความต้องการใช้งานว่า field ใดบ้างที่ต้องการทราบการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร การจัดกลุ่มธุรกิจ ถ้าสามารถจัดเป็น Standard ได้อาจจะลดในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการจัดกลุ่มได้หรือไม่
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร หารือ ธปท. ว่าต้องย้อนข้อมูล (ทุกเรื่อง) เช่น registration date ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือว่าความจำเป็นในการใช้งานว่าข้อมูลใดจำเป็นต้องย้อนหลังบ้าง
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร ถาม Involved party คืออะไร ข้อเสนอ/รายละเอียด ดูรายละเอียดเอกสารประกอบการประชุมครั้งที่ 2 (25 ม.ค. 53)
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร Country of Issuer ใช้เกณฑ์อะไร ตัวอย่าง Asian Development Bank (ADB) ต้องถือว่าอยู่ในประเทศอะไร (คำถามจาก mail คุณปรีชา) ข้อเสนอ/รายละเอียด ADB จะให้ระบุประเทศผู้ออกตราสารโดยใช้เป็น n.a. (Not Available) เนื่องจากเป็นองค์กรระหว่างประเทศ และไม่ให้ข้อมูลของแต่ละประเทศมากหรือน้อยเกินไป
Issuer Attributes – ข้อมูลทะเบียนผู้ออกตราสาร Nationality of Issuer ใช้เกณฑ์อะไร เนื่องจากมีความต่างกันของกฎหมาย (คำถามจาก mail คุณปรีชา) ข้อเสนอ/รายละเอียด Nationality ธปท. ดูตามสถานที่ที่จดทะเบียน เช่น HSBC จะใช้ Nationality เป็น UK ธปท. มีการใช้งาน Location แยกกันว่าเป็น HSBC ที่ไหน
Issuer Rating – จัดอันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออก เพิ่มเติมอันดับความน่าเชื่อผู้ค้ำประกัน ครอบคลุม ผู้ออก ผู้รับรองสลัก ค้ำประกัน / ครอบคลุม ถึงตราสารหนี้ DW ข้อเสนอ/รายละเอียด สามารถเพิ่มเติมรายละเอียดได้ตามความต้องการใช้งานของทุกองค์กร
Issuer's Parent – ข้อมูลบริษัทแม่ ปัญหา ของ non listed บริษัทจำกัด การบังคับให้มา update ยาก ไม่มีอำนาจในการบังคับ หารือเรื่องประโยชน์ของการใช้ข้อมูลนี้ / ลักษณะการใช้ Note อาจทำไม่ได้ในทุกประเภท issuer เช่น ตราสารทุนใน OTC และข้อมูลไม่ update กรณี listed มีข้อมูลที่ SET รายปี ข้อเสนอ/รายละเอียด ข้อมูล Issuer Parent’s บางเรื่องอาจจะเป็น Transaction การเก็บข้อมูลของบริษทแม่ไม่จำเป็นต้องมีทุกรายการของ Issuer ซึ่งอาจจะเก็บตามข้อมูลที่มีอยู่จริง
Registrar – ข้อมูลทะเบียนนายทะเบียนหลักทรัพย์ หมายความของตารางนี้ ลักษณะการใช้ข้อมูล ข้อเสนอ/รายละเอียด เก็บรายละเอียดว่าตราสารรายการนี้มีนายทะเบียนเป็นใคร โดยเก็บเป็น Id และใช้ Information ร่วมใน Table ของผู้ออกตราสารได้ เพราะเป็นเรื่องของบุคคล
Other Attributes – ข้อมูลทั่วไปของตราสาร Data Provider หมายถึงใครเป็นคนส่งข้อมูลให้ ก.ล.ต. ความหมายของตารางนี้ ข้อเสนอ/รายละเอียด รหัสองค์กรที่เป็นผู้ให้ข้อมูลของตราสารรายการนี้ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโดยศูนย์อาจจะเก็บว่าเป็น Code ของศูนย์ได้ เก็บสถานะของตราสารว่าเป็นตราสารที่หมดอายุไปแล้วหรือไม่ วันที่สามารถบอกได้ว่าเป็นตราสารที่ถูกไถ่ถอนก่อนหมดอายุของตราสารหรือไม่ สามารถเก็บเพิ่มรายละเอียดว่ามีการยกเลิกตราสารนี้ในการประมูลหรือไม่
Other Attributes – ข้อมูลทั่วไปของตราสาร สามารถรวมกับทะเบียนตราสารได้หรือไม่ ข้อเสนอ/รายละเอียด ควรเก็บเป็น Id และใช้ Information ร่วมใน Table ของผู้ออกตราสารได้ เพราะเป็นเรื่องของบุคคล
Securities Properties ประเด็นหารือจาก กลต. Securities Properties
Debt Attributes – ข้อมูลทะเบียนตราสารหนี้ Current Par ความหมาย? ข้อเสนอ/รายละเอียด เป็นราคาพาร์ปัจจุบันในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
Debt Attributes – ข้อมูลทะเบียนตราสารหนี้ เพิ่ม Registrar ID ชื่อนายทะเบียนของหลักทรัพย์ ข้อเสนอ/รายละเอียด ควรเก็บเป็น Id เช่นเดียวกับผู้ออกตราสาร
Interest Rate – ข้อมูลอัตราดอกเบี้ย Note ต้องปรับ field ข้อมูลให้สามารถนำไปใช้ได้ จากเดิมที่ข้อมูลของในรูปของ text ข้อเสนอ/รายละเอียด
Coupon Payment – ข้อมูลการจ่ายดอกเบี้ย ข้อมูลเหล่านี้มีวัตถุประสงค์อย่างไร / ใช้ในลักษณะไหน ข้อเสนอ/รายละเอียด ความต้องการประมาณการดอกเบี้ยจ่าย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปริมาณเงินที่เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจเท่าไร และเมื่อไรบ้าง
Coupon Payment – ข้อมูลการจ่ายดอกเบี้ย ขออธิบายความหมายเพิ่มเติมของ effective interest rate Note ต้องปรับ field ข้อมูลให้สามารถนำไปใช้ได้ จากเดิมที่ข้อมูลของในรูปของ text ข้อเสนอ/รายละเอียด ตราสารที่มีเงื่อนไขการจ่ายดอกเบี้ยครั้งเดียวเป็นแบบทบต้น และจ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนด
Debt Embedded Option ตารางนี้ เฉพาะ Embeded option เท่านั้น หรือไม่ แล้ว structure note อื่นๆเก็บที่ไหน ข้อเสนอ/รายละเอียด สามารถปรับการเก็บข้อมูลให้รองรับ Structure note ได้ ซึ่งต้องหารือในรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการเก็บ การเก็บสามารถดูว่าถ้า Table เดียวไม่รองรับอาจจะแยกการเก็บข้อมูลได้
Guarantor – ข้อมูลทะเบียนผู้ค้ำประกัน ต้องทำให้รองรับผู้ค้ำประกันได้หลายคน ถ้าเป็นบุคคลธรรมดา จะมีวิธีการ บันทึกข้อมูลอย่างไร ต้อง เพิ่มเลขที่บัตรประชาชน Type of Guarantee คืออะไร กรณี Guarantor เป็นบริษัทต่างประเทศ จะใช้ Id อะไร เพิ่ม Type of Guarantee Note ต้องปรับ field ข้อมูลให้สามารถนำไปใช้ได้ จากเดิมที่ข้อมูลของในรูปของ text ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือรายละเอียด ดูรายละเอียดเอกสารประกอบการประชุมครั้งที่ 2 (25 ม.ค. 53)
Collateral – ข้อมูลทะเบียนหลักประกัน การแบ่งประเภทสินทรัพย์ การผสมหลักประกัน ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือรายละเอียด
Debt Redemption – ข้อมูลการไถ่ถอนตราสารหนี้ สอบถาม Non Transfer date คือ อะไร มีประโยชน์ลักษณะไหน ข้อเสนอ/รายละเอียด วันปิดสมุดทะเบียนก่อนวันครบกำหนดไถ่ถอน (ไม่ให้มีการดำเนินการใดๆ กับตราสารนั้น) สำหรับการคำนวณเงินที่ต้องจ่าย และจ่ายใครบ้าง ซึ่งนายทะเบียนตราสารจำเป็นต้องใช้ข้อมูล
ประเด็นหารือจาก กลต. ประเด็นหารือจาก กลต. Equity Securities
Equity Attributes – ข้อมูลทะเบียนตราสารทุน Securities Market สามารถ link จาก SET ได้สอบถาม Non Transfer date คือ อะไร มีประโยชน์ลักษณะไหน ควรแยกตาราง Warant ต่างหาก / warrant ถือเป็น ตราสารทุน หรือ ตราสารหนี้ ข้อเสนอ/รายละเอียด หารือในรายละเอียดการกำหนดนิยามของตราสารแต่ละประเภท
Equity Attributes – ข้อมูลทะเบียนตราสารทุน ประเทศที่ขายหลักทรัพย์ Issuing Country หมายถึงประเทศที่ออก หรือ ประเทศที่ขาย Note : ยังไม่ได้เก็บข้อมูลลักษณะการเสนอขาย Offering channel เช่น ประเภท PP, PO ทั้งทุกตราสาร ข้อเสนอ/รายละเอียด ประเทศที่ขาย
Mutual Fund Attributes – ทะเบียนกองทุนรวม แก้ type ของ Percentage of NAV of Foreign Investment Policy เพิ่ม Fund Abbr name / Registratar ID / Fund supervisor ข้อเสนอ/รายละเอียด สามารถกำหนดเพิ่มเติมตามความต้องการได้
Derivatives Attributes – ทะเบียนตราสารอนุพันธ์ Number of Underlying หมายความว่าอย่างไร เช่น หุ้นกู้อนุพันธ์เป็นโครงการ อ้างอิง SET50 เวลาออกแต่ละครั้งจะเลือกหุ้นใน SET50 มาเป็น Underlying ในแต่ละครั้ง ผู้ออกหมายรวมถึง counter party ของสัญญาซื่อขายล่วงหน้า ไม่มีที่ใส่สัญญาต่างๆ เช่น สัญญา REPO, Reverse Repo (ไม่รวม OTC?) ต้องการให้ครอบทั้ง OTC และ Exchange traded field ที่เก็บไม่ครอบคลุมทุก product เช่น SWAP , IRS , Cap เพิ่ม Issuer Id / Registrar ID ข้อเสนอ/รายละเอียด ขอหารือในรายละเอียด สามารถเพิ่มเติมได้ หากมีความจำเป็นในการใช้งาน
Corporate Event Attributes ไม่มีการเก็บ ISIN Code จะเชื่อมโยงกับตราสารได้อย่างไร OTC บางกรณีไม่มีข้อมูล ทุนและหนี้ ต้องกำหนดผู้เก็บข้อมูล ข้อเสนอ/รายละเอียด ขอหารือในรายละเอียด อาจจะรวมที่ศูนยข้อมูลธุรกรรมตราสารการเงิน
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล Securities Type (ตามคุณสมบัติพิเศษ) แบ่งตามประเภทผู้ออกตราสาร พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ พันธบัตรองค์การของรัฐ หุ้นกู้ภาคเอกชน พันธบัตรที่ออกโดยองค์กรเฉพาะกิจ แบ่งตามการชำระคืน ชำระคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกำหนด (Straight Bond) ทยอยคืนชำระคืนเงินต้น (Amortizing Bond) ตามการแปลงสภาพ (Convertible Bond)
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล Securities Type (ตามคุณสมบัติพิเศษ) แบ่งตามการใช้สินทรัพย์ค้ำประกัน มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน (Secured Bond) ไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน (Unsecured Bond) แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง ไม่ด้อยสิทธิ (Senior Bond) ด้อยสิทธิ (Subordinate Bond / Junior Bond)
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล Securities Type (ตามคุณสมบัติพิเศษ) แบ่งตามประเภทของอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate Bond) อัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate Bond) แบ่งตามสิทธิในการไถ่ถอนก่อนกำหนด ผู้ออกมีสิทธิเรียกไถ่ถอนก่อนกำหนด (Callable Bond / Call Option) ผู้ถือมีสิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนด (Puttable Bond / Put Option)
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล Securities Type (ตามคุณสมบัติพิเศษ) ตราสารหนี้จากการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitized Bond) Asset Backed Securitization Credit Card/Personal Loan Receivable-backed Securities Depository Receipts Future Cash Flow หมายเหตุ ปัจจุบัน ธปท.ยังไม่ได้แบ่งละเอียดตามรายการที่กล่าวมาข้างต้น
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล ประเด็นหารือ ควรจัดเก็บข้อมูลคุณสมบัติพิเศษของตราสารให้ครบทุกด้านตามรายละเอียดที่กล่าวมาหรือไม่ ข้อสรุป
กำหนดรหัสมาตรฐาน และคำนิยามของข้อมูล Underlying Type (ประเภทหลักทรัพย์อ้างอิง) Guarantee Type (ประเภทการค้ำประกัน (รัฐบาล))? ต้องการทราบการค้ำประกันนอกเหนือรัฐบาลหรือไม่ Term Range (ช่วงระยะเวลา)