การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย ดร.รุจีพัชร บุญจริง เกษตรจังหวัดสมุทรสงคราม
อาเซียน (ASEAN) คือ อะไร ชื่อเต็มของอาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South-East Asian Nations) อาเซียนเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ภายใต้ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) ครั้งแรกมี 5 ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ กัมพูชาเป็นประเทศสุดท้ายที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกในปี 2542 ปัจจุบัน ASEAN มีสมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ส.ป.ป.ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม
* การเกิดอาเซียน10 ต้องใช้เวลาถึง 30 ปี * ประวัติของอาเซียน ปฎิญญากรุงเทพ 8 สิงหาคม 2510 อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย 2510 อาเซียน 5 2527 อาเซียน 6 + บรูไน (อาเซียนเก่า) 2538 อาเซียน 7 + เวียดนาม CLMV อาเซียนใหม่ 2540 อาเซียน 9 + ลาว + พม่า 2542 อาเซียน 10 + กัมพูชา * การเกิดอาเซียน10 ต้องใช้เวลาถึง 30 ปี *
อาเซียน (ASEAN) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2540 50 ล้านคน 2540 7 ล้านคน 2510 83 ล้านคน 2510 67 ล้านคน 2538 86 ล้านคน 2542 15 ล้านคน 2527 4 แสนคน 2510 27 ล้านคน 2510 5 ล้านคน 2510 223 ล้านคน อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศ และองค์การ ระหว่างประเทศ สรุป อาเซียนจึงไม่ใช่เป็นเวทีที่จะพูดกับเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจหรือการค้า เท่านั้น แต่จะรวมถึงด้านสังคม ความมั่นคง และความร่วมมือใน ด้านต่างๆ ด้วย ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) วัตถุประสงค์ สร้างประชาคมที่มีความแข็งแกร่ง สามารถรับมือสิ่งท้าทายทั้งด้าน การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เพิ่มอำนาจการต่อรอง และขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน ประชาชนอยู่ดีมีสุข สามารถประกอบกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจได้ สะดวกมากขึ้น ประชาชนในอาเซียนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เสริมสร้างความเชื่อมโยงกันในอาเซียนทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบและเชื่อมโยงระหว่างประชาชน
3 เสาหลัก องค์ประกอบประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม(ASCC) ประชาคมการเมืองและความมั่นคง(APSC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) การคุ้มครอง และสวัสดิการทางสังคม สิทธิและความยุติธรรม ทางสังคม การพัฒนามนุษย์ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) ความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อม การลดช่องว่าง ทางการพัฒนา การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน APSC Blueprint การเป็นภูมิภาค ที่มีพลวัต และปฏิสัมพันธ์ กับโลกภายนอก ประชาคมที่มีกติกา และมีค่านิยม และบรรทัดฐานร่วมกัน การเป็นภูมิภาคที่มีความสงบสุข และรับผิดชอบร่วมกัน ในการรักษาความมั่นคงสำหรับประชาชน ที่ครอบคลุมในทุกด้าน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) การเป็นตลาดและ ฐานการผลิตเดียวกัน การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถ ในการแข่งขัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) การเป็นภูมิภาคที่มี การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่เท่าเทียมกัน การเป็นภูมิภาคที่มี การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คำขวัญของอาเซียน (ASEAN MOTTO) One Vision - หนึ่งวิสัยทัศน์ One Identity - หนึ่งอัตลักษณ์ One Community - หนึ่งชุมชน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตร ภาคเกษตรส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับเสาหลักประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) เสาหลักประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) จะเกี่ยวข้องกับภาคเกษตรบ้างเล็กน้อย เช่น การขจัดความยากจน ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับเสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคงจะเกี่ยวข้องกับภาคเกษตรน้อยมาก
เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ตลาดและฐานการผลิตร่วม เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
การสร้างขีดความสามารถแข่งขัน นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน นโยบายภาษี e - ASEAN
การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค สนับสนุนการพัฒนา SME ลดช่องว่างการพัฒนา IAI การมีส่วนร่วมภาครัฐ – เอกชน PPE
การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย จัดทำ FTA ประเทศนอกภูมิภาค
สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List : SL) ไทย ไม้ตัดดอก กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง บรูไน ชา กาแฟ กัมพูชา เนื้อไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้บางชนิด พืชบางชนิด ลาว สัตว์มีชีวิต เนื้อโค กระบือ สุกร ไก่ ผักผลไม้บางชนิด ข้าว ยาสูบ มาเลเซีย สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ ไข่ พืชบางชนิด ผลไม้บางชนิด ยาสูบ 18
สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List : SL) (ต่อ) พม่า ถั่ว กาแฟ น้ำตาล ไหม ฝ้าย ฟิลิปปินส์ สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ มันสำปะหลัง ข้าวโพด เวียดนาม สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อไก่ ไข่ พืชบางชนิด เนื้อสัตว์ปรุงแต่ง น้ำตาล สิงค์โปรและอินโดนีเซีย ไม่มี
สินค้าอ่อนไหวมาก (Highly Sensitive List : HSL) อินโดนีเซีย – ข้าว น้ำตาล มาเลเซีย – ข้าว ฟิลิปปินส์ – ข้าว น้ำตาล ประเทศอื่นๆ รวมทั้งไทย ไม่มี HSL 20
ศักยภาพในการแข่งขันของภาคเกษตรไทยในอาเซียน ด้าน ได้เปรียบ เสียเปรียบ 1. การผลิต มีพันธุ์พืชหลากหลาย สภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการเพาะปลูก มีการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ต่อเนื่อง มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการผลิตและ หลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ค่าแรงงานสูง 2. การแปรรูป มีเทคโนโลยีการแปรรูปที่ทันสมัย สินค้ามีคุณภาพสูงตามความต้องการของ ผู้บริโภค สินค้ามีความหลากหลาย วัตถุดิบราคาสูงกว่า เช่น มัน สำปะหลัง ยางพารา ปาล์ม น้ำมัน
ศักยภาพในการแข่งขันของภาคเกษตรไทยในอาเซียน (ต่อ) ด้าน ได้เปรียบ เสียเปรียบ 3. การตลาด ได้เปรียบในการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ นักธุรกิจมีประสบการณ์ ภาพลักษณ์สินค้าเกษตรดี เป็นที่ยอมรับ ของตลาดโลก ต้นทุนการผลิตสูงกว่า เช่น ค่าแรงงาน การส่งออกอาศัยคนกลาง เช่น สิงคโปร์ 4. เกษตรกร/สถาบันเกษตรกร เกษตรกรมีองค์ความรู้ด้านการเกษตรที่สูง มีระบบสหกรณ์ที่เข้มแข็ง มีกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน SME
โอกาสของภาคเกษตรไทยภายใต้ AEC แหล่งวัตถุดิบใหม่ของประเทศไทย ขยายฐานการผลิตขอประเทศไทย ตลาดส่งออกที่เปิดกว้าง โอกาสภาคเกษตร พันธมิตรสู่ตลาดโลก ศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ในภูมิภาคอาเซียน
ประเด็นท้าทายของภาคเกษตรไทยภายใต้ AEC การผลิต บางสินค้าจะได้รับผลกระทบ เพราะราคานำเข้าจะถูกกว่า มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) รวมทั้งมาตรการที่ ไม่ใช่ภาษี (NTB) จะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการปกป้องการนำเข้า มากขึ้น นักลงทุนจากต่างประเทศจะมาลงทุนในประเทศมากขึ้น ผู้ประกอบการ ในประเทศต้องเผชิญกับการแข่งขันสูง แรงงานมีฝีมือในไทยอาจเคลื่อนย้ายไปทำงานในต่างประเทศที่มี ค่าตอบแทนสูงกว่า อาจเกิดการขาดแคลนแรงงานฝีมือในประเทศได้
การเตรียมความพร้อมของภาครัฐ ในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ตั้ง ASEAN Unit ในแต่ละหน่วยงาน การพัฒนาศักยภาพข้าราชการในการทำงานโดยเฉพาะ ภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้าน เร่งรัดแก้ไขและปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับพันธกรณี ทั้ง 3 เสาหลัก มีผู้แทนภาคเอกชนในคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ จัดทำยุทธศาสตร์เพื่อลดผลกระทบโดยเฉพาะ SME
การเตรียมความพร้อมของภาคเกษตรไทย แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามเฝ้าระวังการเปิดการค้าเสรี มีปลัด ก.ษ. เป็นประธาน สศก. เป็นเลขานุการ มีกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มความสามารถแข่งขัน (กองทุนFTA) จัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน)ทั้งรายสินค้า และภาพรวม รวมทั้ง ยุทธศาสตร์การเกษตรต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร และยุทธศาสตร์ความปลอดภัยของอาหาร พัฒนามาตรฐานการผลิต ทั้งมาตรฐานของประเทศ และมาตรฐาน ของอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของภาคเกษตรไทย (ต่อ) เข้าร่วมในเวทีเจรจาทางการค้าโดยเฉพาะในด้านSPS และเวทีความร่วมมือในทางวิชาการต่างๆ ให้ความสำคัญกับการลดต้นทุนการผลิต และพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน สินค้า กำหนดมาตรฐานการควบคุม การนำเข้าให้เหมาะสม พัฒนาศักยภาพข้าราชการ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร และผู้เกี่ยวข้อง เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ โดยการประชุมสัมมนา และผ่านสื่อต่างๆ
การปรับตัวของเกษตรกรและผู้ประกอบการ
การปรับตัวของเกษตรกรและผู้ประกอบการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานตรงตามความต้องการของผู้นำเข้า รวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มอำนาจต่อรอง ติดตามสถานการณ์การค้าระหว่างประเทศอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะปัจจุบัน เกษตรกรและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงข้อมูลของส่วนราชการต่างๆ ได้ โดยง่ายบนเว็บไซต์
สรุปการเตรียมตัวของภาคเกษตรไทยภายใต้ AEC กลยุทธ์ 2ร + 5ป + 3ภ (Border Measure) (1) ป้องกัน SSG 1 ภาครัฐ เชิง รับ (2)ปราบปราม (Internal Measure) (3)ปรับเปลี่ยน (Change) ให้ข้อมูล + ถ่ายทอดความรู้ R&D กองทุน FTA ประสิทธิภาพการผลิต 1 2 คุณภาพผลผลิต (4) ปรับปรุง ตนเอง เชิง 2 เกษตรกร รุก ภาพลักษณ์ของสินค้า 3 + (5) ไปนอกประเทศ ลงทุนใน ASEAN ผู้ประกอบการ เป็น ผู้ค้า (ซื้อมา (แปรรูป)/ ขายไป) 30
มาตรฐานอาเซียนที่ได้ดำเนินการแล้ว พืช มาตรฐานการบริหารจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน มาตรฐานสารตกค้างในพืชผัก (MRL) รวม 826 ค่า (ยาฆ่าแมลง 73 ชนิด) มาตรฐาน GAP ฟาร์มผักผลไม้สด ซึ่งคำนึงถึงความปลอดภัยอาหาร การจัดการสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและสวัสดิการของผู้ปฏิบัติงาน และคุณภาพผลผลิต
มาตรฐานอาเซียนที่ได้ดำเนินการแล้ว (ต่อ) มาตรฐานผลผลิต มี 29 ชนิด เป็นผลไม้ 18 ชนิด มาตรฐานผัก 10 ชนิด มะม่วงหิมพานต์ มีแผนจะดำเนินงานในปี 2555 – 2558 อีก 20 กว่าชนิด รวมทั้งมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานข้าว ยังไม่มีแผนที่จะดำเนินการ
มาตรฐานอาเซียนที่ได้ดำเนินการแล้ว (ต่อ) มาตรฐานผลไม้ ทุเรียน สับปะรด มะม่วง เงาะ มะละกอ ส้มเปลือกอ่อน ส้มโอ มังคุด แตงโม ฝรั่ง ลางสาด/ ลองกอง กล้วย มะพร้าวอ่อน ขนุน เมล่อน สละ ชมพู่ และละมุด มาตรฐานผัก แตงกวา กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ่ พริก พริกหวาน ฟักทองกระเจี๊ยบเขียว มะเขือยาว และข้าวโพดหวาน
แผนงานจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตรในอนาคต ปี 2555 มะขามหวาน กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว ขมิ้น และเมล็ดกาแฟ ปี 2556 น้อยหน่า มันเทศ ถั่วลิสง เห็ด (เห็ดหอม/ เห็ดนางรม) ชา และเมล็ดโกโก้ ปี 2557 แก้วมังกร ผักใบ (ผักกาด ผักขม ผักบุ้ง ผักกาดขาวปลี) และกะหล่ำดอก ปี 2558 บล็อกโครี่ มะระ บวบ เผือก ทุเรียนเทศ และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ขอบคุณค่ะ