งบการเงินรวม 9/20/2018
Executive Summary งบการเงินรวมคืออะไร งบการเงินของกลุ่มกิจการ นำเสนองบเสมือนว่าเป็นกิจการเดียวกัน 9/20/2018
Executive Summary (cont.) กลุ่มกิจการมีใครบ้าง บริษัทใหญ่ และ บริษัทย่อยทุกบริษัทที่เป็นของบริษัทใหญ่นั้น 9/20/2018
Executive Summary (cont.) วัตถุประสงค์ : - เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถ ประเมินฐานะและผลการดำเนินงานรวมของกลุ่มกิจการ ได้ชัดเจนมากขึ้น ประเมิน risks & benefits ที่อาจกระทบต่อบริษัทใหญ่ และบริษัทย่อย 9/20/2018
Executive Summary (cont.) ใครต้องจัดทำ บริษัทใหญ่ที่มีบริษัทย่อยอยู่ภายใต้ การควบคุม เว้นแต่บริษัทใหญ่ถูกควบคุมโดยกิจการ อื่นอีกชั้นหนึ่ง 9/20/2018
บริษัทย่อยที่ต้องนำมาทำงบการเงินรวม Executive Summary (cont.) บริษัทย่อยที่ต้องนำมาทำงบการเงินรวม บริษัทย่อยทั้งในและต่างประเทศ อยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัทใหญ่ 9/20/2018
บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... Executive Summary (cont.) บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... มีสิทธิออกเสียงเกินกว่ากึ่งหนึ่ง มีอำนาจออกเสียงเกินกว่ากึ่งหนึ่งผ่าน ข้อตกลงกับผู้ถือหุ้นรายอื่น มีอำนาจตามกฎหมายหรือตามข้อตกลง ในการกำหนดนโยบายทางการเงินและ การดำเนินงาน 9/20/2018
บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... Executive Summary (cont.) บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... มีอำนาจแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ ส่วนใหญ่ของบริษัท มีอำนาจในการออกเสียงส่วนใหญ่ ในการประชุมคณะกรรมการ 9/20/2018
บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... Executive Summary (cont.) บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... มีโครงสร้างการถือหุ้นหรือมีอำนาจบริหารแบบ อำพราง ทำให้มีอำนาจออกเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ถือหุ้นในจำนวนที่ไม่เป็นสาระสำคัญในกิจการ อื่นมากกว่า 1 ราย แต่กิจการที่ถูกลงทุนดังกล่าว มีการถือหุ้นที่เหลือไขว้กัน 9/20/2018
ตัวอย่างการมีอำนาจควบคุมกิจการอื่น แบบอำพราง บริษัท A ให้กู้ยืม บริษัท A มีอำนาจควบคุม บริษัท B 100 % นาย ก. บริษัท เงา 60 % บริษัท B 9/20/2018
ตัวอย่างการมีอำนาจควบคุมกิจการอื่น ในลักษณะที่ถือหุ้นไขว้กัน บริษัท A 20 % 15 % 85 % บริษัท B บริษัท C 80 % บริษัท A มีอำนาจ ควบคุมบริษัท B และ C 9/20/2018
บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... Executive Summary (cont.) บริษัทใหญ่ควบคุมบริษัทย่อยโดย... จัดตั้งกิจการเฉพาะกิจ เพื่อประโยชน์ของ บริษัทใหญ่เอง โดยกำหนดวัตถุประสงค์ และนโยบายการดำเนินงานของกิจการนั้น ไว้ล่วงหน้า 9/20/2018
บริษัทย่อยที่ไม่ต้องนำมาทำงบการเงินรวม Executive Summary (cont.) บริษัทย่อยที่ไม่ต้องนำมาทำงบการเงินรวม บริษัทย่อยที่บริษัทใหญ่ตั้งใจจะควบคุม เป็นการชั่วคราว อยู่ภายใต้ข้อกำหนดที่เข้มงวด ทำให้ด้อย ความสามารถในการโอนเงินให้บริษัทใหญ่ 9/20/2018
Executive Summary (cont.) ขั้นตอนการจัดทำงบการเงินรวม นำรายการที่เหมือนกันมารวมกัน ตัดรายการเงินลงทุนและส่วนได้เสียระหว่างกัน แยกแสดงส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ตัดบัญชีรายการระหว่างกันของกิจการในกลุ่ม ให้หมดไป 9/20/2018
Executive Summary (cont.) ข้อควรพิจารณาในการจัดทำงบการเงินรวม บริษัทใหญ่และบริษัทย่อยควรมีรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน บริษัทใหญ่และบริษัทย่อยควรใช้นโยบายการบัญชีเดียวกัน เมื่อบริษัทใหญ่ไม่ได้ควบคุมบริษัทย่อยอีกต่อไปก็ไม่ต้องจัดทำงบการเงินรวม 9/20/2018
Executive Summary (cont.) การเปิดเผยข้อมูลของงบการเงินรวม รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทย่อยที่สำคัญ ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างกัน เหตุผลในการรวมหรือไม่รวมบริษัทย่อยใน งบการเงินรวม ผลกระทบจากการได้มาหรือจำหน่ายบริษัทย่อย 9/20/2018
รายละเอียด 9/20/2018
Outline นิยาม ลักษณะของงบการเงินรวม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย การควบคุม บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย การควบคุม 9/20/2018
Outline (cont.) บริษัทใหญ่ไม่จัดทำงบการเงินรวมได้หรือไม่ บริษัทย่อยตามเกณฑ์ยกเว้นที่บริษัทใหญ่ไม่ต้องนำมาจัดทำงบการเงินรวม ขั้นตอนในการจัดทำงบการเงินรวม และตัวอย่าง 9/20/2018
นโยบายการบัญชีของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย Outline (cont.) วันที่ในงบการเงิน นโยบายการบัญชีของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย การยกเลิกการควบคุมบริษัทย่อย การเปิดเผยข้อมูลและตัวอย่าง 9/20/2018
ลักษณะของงบการเงินรวม รวมงบการเงินของทุกกิจการที่บริษัท ใหญ่ควบคุมทั้งในและต่างประเทศ เว้นแต่่บริษัทย่อยตามเกณฑ์ยกเว้น แสดงข้อมูลทางการเงินเสมือนว่าเป็น กิจการเดียวกัน 9/20/2018
บริษัทใหญ่ กิจการซึ่งมีบริษัทย่อย อย่างน้อยหนึ่งแห่ง 9/20/2018
บริษัทย่อย กิจการซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุม ของกิจการอื่นซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ 9/20/2018
การควบคุม อำนาจในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจการ 9/20/2018
ได้ ..แต่ต้องเป็นไปตามข้อยกเว้น ดังนี้ บริษัทใหญ่ไม่ทำงบการเงินรวม ได้หรือไม่ ? ได้ ..แต่ต้องเป็นไปตามข้อยกเว้น ดังนี้ 1. บริษัทใหญ่มีฐานะเป็นบริษัทย่อยซึ่งถูก กิจการอื่นควบคุมอยู่ทั้งหมด และ กิจการที่ควบคุมไม่ได้กำหนดให้จัดทำ งบการเงินรวม 9/20/2018
ได้ ..แต่ต้องเป็นไปตามข้อยกเว้น ดังนี้ บริษัทใหญ่ไม่ทำงบการเงินรวม ได้หรือไม่ ? (ต่อ) ได้ ..แต่ต้องเป็นไปตามข้อยกเว้น ดังนี้ 2. บริษัทใหญ่มีฐานะเป็นบริษัทย่อยซึ่งถูก กิจการอื่นควบคุมอยู่เกือบทั้งหมด และ ได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้นส่วนน้อยว่า ไม่ต้องจัดทำงบการเงินรวม 9/20/2018
และ..ต้องเปิดเผยข้อมูล ดังนี้ บริษัทใหญ่ไม่ทำงบการเงินรวม ได้หรือไม่ ? (ต่อ) และ..ต้องเปิดเผยข้อมูล ดังนี้ 1. เหตุผลที่ไม่เสนองบการเงินรวม 2. วิธีบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย 3. ชื่อ ที่อยู่ของกิจการที่ควบคุมบริษัทใหญ่ 9/20/2018
บริษัทย่อยตามเกณฑ์ยกเว้นที่ บริษัทใหญ่ไม่ต้องนำมาจัดทำงบการเงิน บริษัทย่อยที่บริษัทใหญ่มีความตั้งใจที่จะ ควบคุมเป็นการชั่วคราว โดยจะจำหน่าย ในอนาคตอันใกล้ บริษัทย่อยที่ดำเนินงานภายใต้ข้อกำหนดที่ เข้มงวดจากภายนอก ซึ่งมีผลระยะยาวทำให้ ด้อยความสามารถในการโอนเงินให้บริษัทใหญ่ 9/20/2018
ขั้นตอนในการจัดทำงบการเงินรวม 1. นำรายการที่เหมือนกันมารวมกัน 2. ตัดราคาตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทย่อย แต่ละแห่งที่บริษัทใหญ่ถืออยู่ กับส่วนได้เสีย ในส่วนของเจ้าของของบริษัทใหญ่ที่มีอยู่ใน บริษัทย่อยนั้น 9/20/2018
ตัวอย่างการบันทึกบัญชีตามขั้นตอนที่ 2 Dr. หุ้นสามัญ (ย่อย) - B/S xxx กำไรสะสมต้นปี (ย่อย) - B/S xxx ส่วนแบ่งกำไรในบริษัทย่อย - P&L xxx Cr. เงินลงทุนในบริษัทย่อย-B/S xxx 9/20/2018
ขั้นตอนในการจัดทำงบการเงินรวม (ต่อ) 3. ระบุส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (MI) โดย 3.1 ระบุส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิของ MI ในงบดุลเป็นรายการแยกต่างหากต่อจากกำไรสะสม โดยส่วนได้เสียดังกล่าว ประกอบด้วย 3.1.1 จำนวนที่เป็นของ MI ณ วันที่ซื้อเงินลงทุน 3.1.2 ส่วนแบ่งของ MI ในการเปลี่ยนแปลง ส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ ตั้งแต่วันซื้อ จนถึงปัจจุบัน 9/20/2018
ขั้นตอนในการจัดทำงบการเงินรวม (ต่อ) 3.2 โอนส่วนได้เสียในกำไรสุทธิเป็นรายการ ปรับปรุงกับกำไรของกลุ่มกิจการ เพื่อให้ได้ กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 9/20/2018
ตัวอย่างการบันทึกบัญชีตามขั้นตอนที่ 3 Dr. หุ้นสามัญ(ย่อย)-B/S xxx กำไรสะสมต้นปี(ย่อย)-B/S xxx ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย-P&L xxx Cr. ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย-B/S xxx 9/20/2018
- รายการหนี้สินระหว่างกิจการ รวมถึงดอกเบี้ยรับ-จ่าย ขั้นตอนในการจัดทำงบการเงินรวม (ต่อ) 4. ตัดบัญชีรายการระหว่างกันของกิจการที่อยู่ ในกลุ่มให้หมดไป - รายได้จากการขาย ค่าใช้จ่ายและเงินปันผล - กำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นที่รวมอยู่ใน สินทรัพย์ที่เป็นผลมาจากรายการระหว่างกัน เช่น สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - รายการหนี้สินระหว่างกิจการ รวมถึงดอกเบี้ยรับ-จ่าย 9/20/2018
ตัวอย่างการบันทึกบัญชีตามขั้นตอนที่ 4 สมมติว่าบริษัทใหญ่ขายสินค้าให้บริษัทย่อยไปจำหน่ายต่อ และบริษัทย่อยได้ขายสินค้านั้นออกไปแล้วทั้งหมด Dr.ขายสินค้า(ใหญ่)-P&L xxx Cr. ต้นทุนขาย(ย่อย)-P&L xxx 9/20/2018
ตัวอย่างการบันทึกบัญชีตามขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) สมมติว่าบริษัทใหญ่ให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย Dr.เงินกู้ยืมจากบริษัทใหญ่ xxx Cr. เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย xxx Dr. ดอกเบี้ยรับ xxx Cr. ดอกเบี้ยจ่าย xxx 9/20/2018
ตัวอย่าง การจัดทำงบการเงินรวม 9/20/2018
เรื่องมีอยู่ว่า……. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2543 บริษัทใหญ่ ซื้อหุ้นบริษัทย่อยจำนวน 80 % ในราคา 1,120,000 บาท โดยส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทย่อย ณ วันดังกล่าว ประกอบด้วย หุ้นทุน 1,000,000 บาท และ กำไรสะสม 400,000 บาท 9/20/2018
งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 43 งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 43 9/20/2018
งบดุล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 43 9/20/2018
งบดุล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 43 9/20/2018
ข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่เกิดขึ้นในปี 2543 ระหว่างปี บ.ใหญ่ ขายสินค้าให้ บ.ย่อย จำนวน 18 ล้านบาท ซึ่งรวมกำไรขั้นต้นในอัตรา 30 % แล้ว ณ 31 ธ.ค.43 บ.ย่อย มีสินค้าคงเหลือที่ซื้อมาจาก บ.ใหญ่ จำนวน 1.4 ล้านบาท และมียอดหนี้ค้างชำระ ระหว่างกัน 1.8 ล้านบาท ณ 1 ก.ค.43 บ.ใหญ่ ให้กู้ยืมกับ บ.ย่อย 1 ล้านบาท คิดอัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี โดย บ.ย่อย จ่ายดอกเบี้ย ทุกสิ้นเดือน 9/20/2018
ข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่เกิดขึ้นในปี 2543 (ต่อ) ณ 1 ก.ค.43 บ.ใหญ่ ขายรถยนต์ให้แก่ บ.ย่อย ในราคา 0.7 ล้านบาท อายุการใช้งานคงเหลืออีก 5 ปี และมีราคาตามบัญชี ณ วันที่ขาย ดังนี้ ราคาทุน 1,140,000 บาท ค่าเสื่อมราคาสะสม 570,000 บาท ราคาตามบัญชี 570,000 บาท 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน 1. รายการตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย Dr. หุ้นสามัญ-บ.ย่อย (1,000,000*80%) 800,000 กำไรสะสม-ต้นปี (400,000*80%) 320,000 ส่วนแบ่งกำไรใน บ.ย่อย 1,400,600 Cr. เงินลงทุนใน บ.ย่อย 2,520,600 โปรดดูกระดาษทำการประกอบ 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 2. รายการบัญชีสำหรับส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ใน บ.ย่อย (20%) Dr. หุ้นสามัญ-บ.ย่อย (1,000,000*20%) 200,000 กำไรสะสม-ต้นปี (400,000*20%) 80,000 Cr. ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 280,000 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 3. รายการซื้อ-ขายสินค้าระหว่างกัน Dr. ขายสินค้า-บ.ใหญ่ 18,000,000 Cr. ต้นทุนขาย-บ.ย่อย 18,000,000 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 4. รายการกำไรระหว่างกันในสินค้าคงเหลือ ปลายงวด Dr. ต้นทุนขาย-บ.ย่อย (1,400,000*30%) 420,000 Cr. สินค้าคงเหลือ-บ.ย่อย 420,000 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 5. รายการเงินให้กู้ยืมระหว่างกัน Dr. เงินกู้ยืมจากบริษัทใหญ่-บ.ย่อย 1,000,000 Cr. เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย-บ.ใหญ่ 1,000,000 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 6. รายการดอกเบี้ยรับ-ดอกเบี้ยจ่าย Dr. ดอกเบี้ยรับ-บ.ใหญ่ 50,000 # Cr. ดอกเบี้ยจ่าย-บ.ย่อย 50,000 # (1,000,000 * 10% * 6/12) 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 7. รายการกำไรระหว่างกันในสินทรัพย์ที่ขายให้ บ.ย่อย Dr. กำไรจากการขาย ส/ท ถาวร-บ.ใหญ่ 130,000 # Cr. ส/ท ถาวร-บ.ย่อย 130,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-บ.ย่อย 13,000 ## Cr. ค่าเสื่อมราคา-บ.ย่อย 13,000 # ราคาขาย - ราคาตามบัญชี = 700,000 - 570,000 ## 130,000 * 10% 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 8. รายการเงินลูกหนี้-เจ้าหนี้ระหว่างกัน (ยอดค้างชำระค่าสินค้าระหว่างกัน) Dr. เจ้าหนี้การค้า-บ.ย่อย 1,800,000 Cr. ลูกหนี้การค้า-บ.ใหญ่ 1,800,000 9/20/2018
การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน (ต่อ) 9. ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยใน บ.ย่อยสำหรับปี 43 Dr. ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย-P&L 484,400 # Cr. ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย-B/S 484,400 # กำไรสุทธิใน บ.ย่อย * 20% = 2,422,000 * 20% จบตัวอย่าง 9/20/2018
วันที่ในงบการเงิน จัดทำงบการเงินรวม ควรมีวันที่ในงบการเงินเดียวกัน งบการเงินของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย ที่ใช้ในการ จัดทำงบการเงินรวม ควรมีวันที่ในงบการเงินเดียวกัน หากบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย มีวันที่ในงบการเงิน แตกต่างกัน บริษัทย่อยควรจัดทำงบการเงินใหม่ให้ มีวันสิ้นสุดตรงกับบริษัทใหญ่ 9/20/2018
วันที่ในงบการเงิน (ต่อ) หากไม่สามารถจัดทำงบการเงินใหม่ได้ในทางปฏิบัติ อาจนำงบการเงินซึ่งมีวันที่แตกต่างกันไม่เกิน 3 เดือน มาจัดทำงบการเงินรวม ช่วงเวลาของงบการเงินและความแตกต่างของวันที่ ในงบการเงินจะต้องเหมือนกันในทุก ๆ งวด ตามหลักความสม่ำเสมอ 9/20/2018
นโยบายบัญชีของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย รายการบัญชีที่เหมือนกันหรือเหตุการณทางบัญชีที่ คล้ายคลึงกันของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย ควรมี นโยบายการบัญชีเดียวกัน หากกิจการไม่สามารถใช้นโยบายการบัญชีเดียวกันได้ ในการจัดทำงบการเงินรวม ต้องเปิดเผยข้อเท็จจริง ดังกล่าวพร้อมทั้งสัดส่วนของรายการบัญชีนั้น 9/20/2018
การยกเลิกการควบคุมบริษัทย่อย ผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยจะรวมอยู่ในงบการเงิน รวมนับตั้งแต่วันที่บริษัทใหญ่ได้ควบคุมบริษัทย่อย จนถึงวันที่บริษัทใหญ่สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น 9/20/2018
บริษัทใหญ่ไม่ได้ควบคุม บริษัทย่อยอีกต่อไปหาก.... รับรู้กำไรขาดทุนจาก การขายบริษัทย่อย ขายบริษัทย่อย ออกไป ต้องปฏิบัติตาม ม.การบัญชีที่ เกี่ยวข้อง เปลี่ยนลักษณะการ ควบคุมบริษัทย่อย 9/20/2018
การเปลี่ยนลักษณะ การควบคุมบริษัทย่อย ม. เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม บริษัทร่วม ม. เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน เงินลงทุน 9/20/2018
ข้อมูลต้องเปิดเผยในงบการเงินรวมได้แก่... การเปิดเผยข้อมูล ข้อมูลต้องเปิดเผยในงบการเงินรวมได้แก่... รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทย่อยที่สำคัญ ได้แก่ รายชื่อประเทศที่ตั้ง สัดส่วนการเป็นเจ้าของ เป็นต้น เหตุผลที่บริษัทใหญ่มีบริษัทย่อยแต่ไม่นำมาจัดทำ งบการเงินรวม ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทย่อยที่บริษัทใหญ่ มีสิทธิออกเสียง < 50 % แต่มีอำนาจควบคุม 9/20/2018
การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) ข้อมูลต้องเปิดเผยในงบการเงินรวมได้แก่... ชื่อบริษัทที่ไม่เป็นบริษัทย่อยเนื่องจากไม่มีอำนาจ ควบคุม แต่มีสิทธิออกเสียง > 50 % ผลกระทบจากการได้มาหรือจำหน่ายบริษัทย่อย ต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน สำหรับ งวดที่เสนอรายงานเปรียบเทียบกับงวดก่อน 9/20/2018
ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 9/20/2018
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม 2 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม 2.1 งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 44 และ 43 ของบริษัท ก. (บ.ใหญ่) และ บ.ย่อย ดังต่อไปนี้ * บริษัท ง. ถือหุ้นโดยบริษัท ค. 100% ในปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 44 และ 43 9/20/2018
หมายเหตุประกอบงบการเงินต่อ (ต่อ) ถึงแม้ว่าบริษัท ก. จะถือหุ้นในบริษัท ค. อยู่เพียง 42 % แต่บริษัทมีการควบคุมบริษัท ค. โดยผ่านคณะกรรมการส่วนใหญ่ของบริษัทดังกล่าว ดังนั้น จึงถือว่าบริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทย่อย งบการเงินรวมไม่ได้นำงบการเงินของบริษัทย่อย 2 แห่ง ที่บริษัท ก. ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 มาจัดทำงบการเงินรวม เนื่องจากบริษัท ก. มีการควบคุมในลักษณะชั่วคราว 9/20/2018
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ) เมื่อวันที่ 30 ก.ย. 44 บริษัท ก. ได้โอนขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท จ. ให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง งบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 44 จึงได้รวมรายได้และ ค่าใช้จ่ายของบริษัท จ. สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 1 ม.ค.44 ถึงวันที่ 30 ก.ย.44 ไว้ด้วย 9/20/2018
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ) 2.2 งบการเงินรวมจัดทำขึ้นโดยใช้นโยบายการ บัญชีเดียวกันสำหรับรายการบัญชีที่เหมือนกัน หรือเหตุการณ์ทางบัญชีที่คล้ายคลึงกัน 2.3 ยอดคงค้างและรายการระหว่างกันของบริษัท ก. กับบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยของ บริษัท ก. และทุนเรือนหุ้นของบริษัทย่อยได้ตัด บัญชีรายการระหว่างกันออกจากงบการเงินแล้ว 9/20/2018
รายการบัญชีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 9/20/2018
รายการบัญชีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 9/20/2018
Q & A 9/20/2018