ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย ถาวร สกุลพาณิชย์ 23 กุมภาพันธ์ 2555
ที่มา ความคุ้มครองทางสังคมเป็นสิทธิของประชาชน มาตรา 22 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1949 ILO convention 102 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วิกฤตเศรษฐกิจ 2552 ทำให้สหประชาชาติมีมติให้ ผลักดันให้ทุกประเทศทำเรืองความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน
ข้อเด่นของ แนวคิดความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน ชัดเจน ระบบบริการสุขภาพ บุคคล (residents) สามารถเข้าถึง ระบบบริการสุขภาพที่จำเป็นตามที่ประเทศกำหนด ระบบความมั่นคงทางรายได้ ทุกกลุ่มอายุ (เด็ก วัยแรงงาน และ ผู้สูงอายุ) ต้องได้ ความมั่นคงในระดับ เส้นความยากจนของประเทศ
ระดับการคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐานของประเทศไทย (Social Protection Floor) พอใช้ ต้องปรับปรุง แย่
เส้นความยากจน วัดความยากจนได้อย่างไร ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line) ความยากจนเปรียบเทียบ (Relative Poverty Line)
ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line) พิจารณาความจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต รายจ่ายด้านอาหาร จำนวนเงินที่ครัวเรือนต้องใช้ในการซื้อหาอาหารที่จำเป็นสำหรับสมาชิกในครัวเรือน คำนวณความต้องการอาหาร (แคลอรี) โดยดูความต้องการของสมาชิกในครัวเรือน ตามมาตรฐานภาวะโภชนาการ คำนวณปริมาณแคลอรีที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินหนึ่งบาท โดยใช้แบบแผนการบริโภคเฉลี่ยของคนไทย แปลงความต้องการแคลอรีเป็นตัวเงิน รายจ่ายอื่นที่จำเป็นขั้นพื้นฐานสำหรับการบริโภคที่ไม่ใช่อาหาร กำหนดให้ “ปริมาณการบริโภคสินค้าอื่น” เป็นร้อยละ 40 “ปริมาณการบริโภคอาหาร” เป็นร้อยละ 60 (คงที่?) เส้นความยากจนในปีต่อไป ใช้วิธีปรับดัชนีราคารายพื้นที่ และความต้องการสารอาหารระดับครัวเรือน แ
ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line) ปรับรายได้ครอบครัวเป็นรายได้บุคคล ตัวอย่าง เช่น OECD equivalence scale: ผู้ใหญ่คนแรก => 1 ผู้ใหญ่คนที่สอง (> 14 ปี) => 0.5 เด็ก (< 14ปี) => 0.3 วิธีคำนวณ ครัวเรือน ที่มีผู้ใหญ่ 2 คน และเด็ก 2 คน จะมีคะแนน 2.1 (1+0.5+2*0.3) รายได้ครัวเรือน $1000 รายได้รายบุคคล = $ 476 (1000/2.1)
ความยากจนเปรียบเทียบ (Relative Poverty Line) มองว่าความยากจน คือ การถูกกีดกันทางสังคม (Social Exclusion) โดยดูจากการกระจายรายได้ของคนในสังคม พิจารณาเปรียบเทียบรายรับ หรือ ค่าใช้จ่ายของประชาชนว่าต่างจากค่ากลาง เช่นในยุโรป ใช้ค่าความยากจนที่ 60% ของมัฐยฐาน รายได้หลังเสียภาษีและการถ่ายโอน เช่น เงินสมทบประกันสังคม (60% of Median after tax and transfer)
“ความยากจน” ในบริบทนโยบายสังคม อดหยาก (Lack of Basic Needs) เหลื่อมล้ำ (Social Exclusion) VS Source: EuroStat (2008) 1. คนจนในสหภาพยุโรป มีประมาณ 10 – 23% ของประชากร (Relative Poverty line) 2. คนจนใน ประเทศไทยมีประมาณ 21% ของประชากร ( Relative Poverty line ) คำนวณจาก SES 2008
ระบบความคุ้มครองทางสังคม การถ่ายโอนเป็นเงินหรือบริการในสังคม ลูกหลานกตัญญู การถ่ายโอนแบบไม่เป็นทางการ (Informal transfer) กฎหมาย การถ่ายโอนแบบเป็นทางการ (Formal transfer) พันธะทางสังคม จริยธรรม ที่มา ดัดแปลงจาก Cichon (2004) อ้างถึงองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ
น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา Source: Unknown
น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา ระบบการคุ้มครองทางสังคมแบบเป็นทางการ เช่น หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีบทบาทสำคัญในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน Picture source: Dr. Ittaporn Kanacharoen
น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา ระบบการคุ้มครองทางสังคมแบบไม่เป็นทางการ ไม่เพียงพอในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน Source: www2.ipsr.mahidol.ac.th
น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา ไม่เพียงพอในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน พึ่งตนเอง ไม่เป็นทางการ เครือข่ายสังคม ครอบครัว มีบทบาทสำคัญในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน เป็นทางการ สถาบันเอกชน สถาบันรัฐ Source: Neubourg (2002) in ISSA (2002).Social Security in the global village
ประกันว่ารายได้สูงกว่าเส้นความยากจน งานวิจัยคาดการณ์การคลังประเทศไทยในอนาคตของผู้เชี่ยวชาญไทย(TDRI)และผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศยืนยันว่า ประเทศไทยมีเงินพอที่จะจัดทำระบบการคุ้มครองทางสังคมให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางสังคมที่เป็นรูปธรรม เช่น ประกันว่ารายได้สูงกว่าเส้นความยากจน รัฐบาลมีเงินไม่พอจัดทำระบบการคุ้มครองทางสังคมภายใต้ระบบการจัดเก็บรายได้ของรัฐในปัจจุบัน คนไทยทุกคนไม่สามารถสะสมเงินเพียงพอสำหรับ เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิต
การคุ้มครองทางสังคม: ภาระ หรือ การลงทุนระยะยาว?
ในวิกฤต มักมีโอกาส วิกฤตต้มยำกุ้ง -> หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ -> เบี้ยยังชีพ “ถ้วนหน้า” มหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 -> ความมั่นคงทางสังคมขั้นพื้นฐานอยุ่ในแผน 11 อย่างเป็นรูปธรรม บำนาญชราภาพ “ถ้วนหน้า” การช่วยเหลือบุตร “ถ้วนหน้า” บูรณาการเรื่องตกงาน พัฒนาผลิตภาพ และจ้างงาน ปฎิรูประบบภาษี
ฝันให้ไกล ไปให้ถึง ขอบคุณครับ Thank You Source: BangkokPost 13 Nov 2011