การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
หมวด4 10 คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
Draft Application Report
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
PMQA Organization PMQA 2550 หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
Strategic Line of Sight
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

เป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ และ ข้อแนะนำ เป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ และ ข้อแนะนำ เป้าหมายการยกระดับการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ของส่วนราชการ ประจำปี พ.ศ. 2551 ข้อแนะนำกระบวนการดำเนินงาน

พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร

ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง พัฒนาองค์กร การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) Individual Scorecard คุณภาพ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ vs. พรฎ. vs. ISO vs. PSO ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) ม.10-12,21-23 ,27-38,46-49 [ISO 6.2, 6.4,7.2] <PSO 1104> การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (พรฎ. หมวด 2, 3) ม.8-9,13-20,22,33-34 [ISO 5.4] <PSO 1103, 06, 09> การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) ม. 8-9,20-29,33-34,37-38,43-45 [ISO 5.1, 5.3, 5.5, 5.6, 8.5] <PSO 1103, 05, 06, 09,10> ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) ม.7,9,21-23,45 [ISO 8.2, 8.4] <PSO 1108, 2101> การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) ม.8,27-38,42 [ISO 5.2, 7.2] <PSO 1102, 07> การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) ม. 8,10,20-26,30-38 [ISO 7.2, 7.3, 7.4, 7.5] <PSO 1107> การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) ม.8,9,11,16-18,20,27-29,37-41,43-45 [ISO 8.4] <PSO 1101, 05>

วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การดำเนินงาน ขององค์กร ในปัจจุบัน ดำเนินการ ตามแผน เปรียบเทียบกับ แนวทางและเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ วางแผนการพัฒนา และปรับปรุงองค์กร ทราบว่าองค์กรมี โอกาสในการปรับปรุง การดำเนินงานในด้านใดบ้าง

1 2 4 3 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ได้รับรายงานป้อนกลับ No การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ปัจจัยภายนอก เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ธรรมชาติ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจัยภายใน HR Scorecard Risk Management Individual Scorecard 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5 การมุ่งเน้น บุคลากร มิติที่ 1 ประสิทธิผล 1 การนำ องค์กร 7 ผลลัพธ์ องค์กร มิติที่ 2 คุณภาพ มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย 6 การจัดการ กระบวนการ มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร IT & KM 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ PMQA

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จกรม มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 12

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 : ปี 2551 แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 : ปี 2551 ตัวชี้วัดที่ 1 2 3 คะแนน รวม ราย ละเอียด ตัวชี้วัด ระยะเวลาการส่งรายงานประเมินตนเอง ความครบถ้วนในการทำรายงานประเมินตนเอง ผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด กรมทั่วไป 1% 6% 15% 22%

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 1 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 1 กรมทั่วไป ราย ละเอียด ตัวชี้วัด ระยะเวลาการส่งรายงานประเมินตนเอง หลักฐานการส่งงาน (1) 0.2 ส่งวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 (2) 0.4 ส่งวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 (3) 0.6 ส่งวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 (4) 0.8 ส่งวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 (5) 1.0 ส่งวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2551 คะแนน กรมทั่วไป 1%

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 2 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 2 กรมทั่วไป ราย ละเอียด ตัวชี้วัด ความครบถ้วนในการทำรายงานการประเมินตนเอง 1% 2.1 รายงานลักษณะสำคัญองค์กร (15 คำถาม ) 2.2 รายงานสรุปผลประเมินตนเองหมวด 1-7 รายหัวข้อ 17 หัวข้อ (จาก 90 คำถาม ) 2.3 ผลกราฟระดับคะแนน รายหัวข้อ (17 หัวข้อ ) 2.4 รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (7 หมวด ) 2.5 รายงานการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงและรายงาน แผนปรับปรุง ( 7 หมวด ) 2.6 รายงานผลการประชุมชี้แจง PMQA ให้ผู้บริหารรับทราบ ( ปีละ 2 ครั้ง ) คะแนน กรมทั่วไป 6%

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 2 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 2 กรมทั่วไป ราย ละเอียด ตัวชี้วัด ความครบถ้วนในการทำรายงานการประเมินตนเอง เกณฑ์การประเมินผล การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ( 6 ชุด ) ค่าน้ำหนักคะแนน (1) 0.2 (2) 0.4 (3) 0.6 (4) 0.8 (5) 1.0 2.1 รายงานลักษณะสำคัญองค์กร (15 คำถาม ) 1 3 6 9 12 15 2.2 รายงานสรุปผลประเมินตนเองหมวด 1-7 รายหัวข้อ 17 หัวข้อ (จาก 90 คำถาม ) 30 45 60 75 90 2.3 ผลกราฟระดับคะแนน รายหัวข้อ (17 หัวข้อ ) 5 8 11 14 17 2.4 รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (7หมวด ) 4 7 2.5 รายงานการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงและรายงานแผนปรับปรุง (7 หมวด ) 2.6 รายงานผลการประชุมชี้แจง PMQA ให้ผู้บริหารรับทราบ (ปีละ 2 ครั้ง ) - 2 รวม

กราฟแสดงผลคะแนนระดับ หัวข้อ 17 หัวข้อ คะแนน หัวข้อ

กราฟแสดงผลคะแนนค่าเฉลี่ยระดับ หมวด 7 หมวด หมวด คะแนน

ลำดับความสำคัญโอกาสในการปรับปรุง หมวด 1 ลำดับ 1.1 ลำดับ 1.2 ลำดับ 1.3 หมวด 2 ลำดับ 2.1 ลำดับ 2.2 ลำดับ 2.3 หมวด 3 ลำดับ 3.1 ลำดับ 3.2 ลำดับ 3.3

แผนการปรับปรุง

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป 3.1 ผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด ระดับคะแนนจากประเมินตนเองหมวด 1-7 (90 คำถาม = 100 คะแนน) เกณฑ์ หมวดที่ จำนวน คำถาม ค่าน้ำหนักคะแนน ประเด็นที่มุ่งเน้น 1 12 2 9 Risk Management Individual Scorecard 3 11 4 10 IT & KM 5 21 HR Scorecard 6 7 15 รวม 90 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด Risk Management, IT, KM, HR & Individual Scorecard ไว้ด้วย

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป 3.1 ผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด ระดับคะแนนจากประเมินตนเองหมวด 1-7 (90 คำถาม = 100 คะแนน) เกณฑ์ หมวดที่ จำนวน คำถาม ค่าน้ำหนักคะแนน (1) 0-10% (2) 11-20% (3) 21-30% (4) 31-50% (5) 51-100% 1 12 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 2 9 1.25 1.5 1.75 2.0 3 11 4 10 5 21 6 7 15 รวม 90 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด Risk Management, IT, KM, HR & Individual Scorecard ไว้ด้วย

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป ราย ละเอียด ตัวชี้วัด 3.1 ผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด ระดับคะแนนจากประเมินตนเองหมวด 1-7 (90 คำถาม = 100 คะแนน) (1) 0.2 ระดับเบื้องต้น ( 0 - 10 คะแนน ) (2) 0.4 ระดับกำลังพัฒนา ( 11 - 20 คะแนน ) (3) 0.6 ระดับดีปานกลาง ( 21 - 30 คะแนน ) (4) 0.8 ระดับดีมาก ( 31 - 50 คะแนน ) (5) 1.0 ระดับเป็นเลิศ ( 51 คะแนนขึ้นไป ) คะแนน กรมทั่วไป 10%

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป 3.2 ความครบถ้วนของหลักฐานสนับสนุนผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด เกณฑ์ หมวดที่ จำนวน คำถาม ค่าน้ำหนักคะแนน ประเด็นที่มุ่งเน้น 1 12 2 9 Risk Management Individual Scorecard 3 11 4 10 IT & KM 5 21 HR Scorecard 6 7 15 รวม 90 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด Risk Management, IT, KM, HR & Individual Scorecard ไว้ด้วย

แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 3 กรมทั่วไป 3.2 ความครบถ้วนของหลักฐานประกอบการประเมินตนเอง ระดับคะแนนประเมินจากตารางรายการหลักฐาน 40 รายการ ราย ละเอียด ตัวชี้วัด จำนวน หลักฐาน ร้อยละ คะแนน (1) 0.2 24 60% (2) 0.4 28 70% (3) 0.6 32 80% (4) 0.8 36 90% (5) 1.0 40 100% กรมทั่วไป 5%

รายงานหลักฐานสำคัญ หมวด หลักฐานสำคัญ มี ไม่มี หมายเหตุ 1 การนำองค์กร 1. วิสัยทัศน์ขององค์กร 2. ค่านิยมขององค์กร 3. ระบบการสื่อสารภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยต้องมีการสื่อสารเกี่ยวกับวิสัยทัศน์และค่านิยม 4. โครงการหรือกิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสังคม 5. มาตรฐานคุณธรรม จริยธรรม ขององค์กร

รายงานหลักฐานสำคัญ หมวด หลักฐานสำคัญ มี ไม่มี หมายเหตุ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 6. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 7. แผนปฏิบัติราชการประจำปี 8. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ระดับสำนัก/กอง 9. แผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง(Gantt Chart) 10. แผนที่ยุทธศาสตร์ของกรมต้นสังกัด 11. คำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมต้นสังกัดและ สำนัก/กอง 12. ชี้แจงรายละเอียดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างกรมต้นสังกัดและสำนัก/กองเพื่อสร้างความ เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ 13. รายงานสรุปผลความสำเร็จของการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการระดับสำนัก/กอง(เมื่อสิ้นปี งบประมาณ) 14. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ บริหารความเสี่ยง 15. แผนบริหารความเสี่ยง 16. การประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้ทุกหน่วยงาน ในสังกัดรับทราบแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อนำไป ปฏิบัติ 17. การสรุปผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยง 18. การประเมินผลลัพธ์ของแผนบริหารความเสี่ยง

รายงานหลักฐานสำคัญ หมวด หลักฐานสำคัญ มี ไม่มี หมายเหตุ 3 การให้ความสำคัญของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 19. ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งการรับฟังและ เรียนรู้ ความต้องการและความคาดหวังของ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 20. ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 21. ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 22. วิธีการจัดการข้อร้องเรียน 23. การนำข้อร้องเรียนที่ได้รับมาปรับปรุงงาน อย่างน้อย 1 กระบวนงาน 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 24. แผนการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร 25. ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย 26. ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 27. ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการ สร้างคุณค่า อย่างน้อย 2 กระบวนการ 28. รายการองค์ความรู้ที่สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็น ยุทธศาสตร์ขององค์กร 29. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 30. รายชื่อผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ขององค์กร (Chief Knowledge Officer: CKO) และรายชื่อคณะ ทำงานด้านการจัดการความรู้ (KM Team) 31. รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการตามแผนการ จัดการความรู้ 32. หลักฐานแสดงผลการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ

รายงานหลักฐานสำคัญ หมวด หลักฐานสำคัญ มี ไม่มี หมายเหตุ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 33. แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ที่สอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตร์/ เป้าประสงค์ที่ปรับเปลี่ยนไป 34. แผนปฏิบัติการ (Action Plan) การบริหารทรัพยากร บุคคลของแผนงาน/โครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 35. รายงานผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหาร ทรัพยากรบุคคลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 36. แผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 37. รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในความผาสุกของ บุคลากร 38. หลักเกณฑ์การจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 6 การจัดการกระบวนการ 39. คู่มือการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่า อย่างน้อย 2 กระบวนงาน(อย่างน้อยต้องประกอบด้วย Work Flow มาตรฐานงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และ ระบบการ ติดตามประเมินผล) 40. คู่มือการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุนอย่างน้อย 2 กระบวนงาน (อย่างน้อยต้องประกอบด้วย Work Flow มาตรฐานงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และระบบการ ติดตามประเมินผล)

สาระสำคัญ PMQA ปี 2551 การประเมินผลการดำเนินงาน ด้วยข้อมูลของ ปีงบประมาณ 2551 (1 ตค. 2550 – 30 กันยายน 2551) การบูรณาการ ตัวชี้วัด มิติที่ 4 RM, KM, IT, HR & Individual Scorecard, PMQA (ให้น้ำหนักความสำคัญคะแนน กับ ตัวชี้วัดเดิม) การวัด ระดับคะแนน ของ การดำเนินงานองค์กร (เพื่อรู้สถานะและมุ่งสู่การปรับปรุงองค์กร ยังไม่ใช่รางวัล) การปรับ ภาษาเกณฑ์ ให้เหมาะสมและเข้าใจง่ายขึ้น การสร้าง ความเข้าใจ PMQA ของผู้บริหาร ( 3 ระดับชั้นบังคับบัญชา ) การติดตามประเมินหลักฐานโดย ผู้ตรวจประเมินภายนอก 1 ครั้ง ( ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2551)

ขั้นตอนการดำเนินการ PMQA ปี 2551

หลักการจัดการกระบวนการ TQM / PMQA Concept หลักการประเมิน กระบวนการ หลักการประเมิน ผลลัพธ์

TQM/PMQA Concept

Organization Square wheels

รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Japan Canada USA Australia EU Singapore Thailand Quality Performance / Organizational Excellence

Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework Organizational Profile: Environment, Relationships, and Challenges 2 Strategic Planning 5 Human Resource Focus 7 Business Results 1 Leadership 3 Customer& Market Focus 6 Process Management 4 Information, Analysis, and Knowledge Management Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm

การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA TQM Concept PMQA Framework Criteria / Score (Assessment Tool) Management Concept Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Assessment Report (SW) Improvement Plan (Tools & Standards)

1 5 9 2 6 3 7 10 4 8 11 หลักคิด : 11 Core Values การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ 5 การมุ่งเน้นอนาคต 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2 6 ความคล่องตัว การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 3 7 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 10 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม 8 มุมมองเชิงระบบ 11

หลักคิด : 11 Core Values 11 8 6 10 1 4 5 7 2 3 9 Lead the organization Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility คล่องตัว Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม 10 1 5 4 7 Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 2 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Lead the organization Manage the organization Improve the organization

Path to Performance Excellence คิด ปรับ 2 Reacting to Problems 3 Systematic Approach P 1 No system 4 Alignment 5 Integration 6 Role Model 1 2 3 6 Role Model ระบบส่งผลเป็นเลิศ เป็นองค์กรต้นแบบ Strategic Leadership 6 Lead the organization 5 Integration ระบบมีบูรณาการ ระหว่างหน่วยงาน 1 / 2 / 5 / 11 5 4 Alignment ระบบมีความสอดคล้องกัน ในแต่ละหน่วยงาน 4 3 Systematic Approach มีระบบการวางแผน 2 Reacting to Problems แก้ปัญหาเฉพาะหน้า C A 3 4 7 D 2 1 No system ไม่มีระบบ Organizational Learning 5 6 ทำ Improve the organization 1 Manage the organization Execution Excellence 7 / 8 / 9 3 / 4 / 6 / 10

4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ TQM : Framework 3 PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

PMQA เป็นการจัดการกระบวนการย่อยในแต่ละหมวดให้มีการบริหารจัดการที่ดี ( 69 กระบวนการย่อย) 5 (43)1 การจัดการระบบงาน (55)13 การส่งเสริม ให้นำความรู้และ ทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน 1 2 (44)2การนำวัฒนธรรม และความคิดของบุคลากรและชุมชน มาใช้จัดระบบงาน (1) 1 การกำหนดทิศทางและสื่อสาร (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ (56)14 การประเมินประสิทธิผลของ การศึกษาอบรม (2)2 การกำหนดนโยบาย (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี (45)3 การจัดระบบ สื่อสารภายในองค์กรให้มีประสิทธิผล (57)15 การทำให้ บุคลากรพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้า (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (6)6 การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับ ความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและ ภัยพิบัติ (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ (ล่วงหน้า) (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมี จริยธรรม(ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (61)19การสนับสนุน ด้านนโยบายสวัสดิการ (51)9 การพัฒนาบุคลากร 3 (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (52)10 การให้การศึกษา และฝึกอบรม (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร (53)11 การบริหาร การฝึกอบรม (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร 4 (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและรียนรู้ (54)12 การพัฒนา บุคลากร ทั้งทางการและไม่ทางการ (38)6 การจัดการข้อมูล และสารสนเทศ (IT) (25)4 การสร้างความสัมพันธ์ (33)1 การเลือก และใช้ข้อมูล 6 ( (26)5 การสร้างระบบที่ให้บริการ กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการสนับสนุน (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน (34)2 การใช้ข้อมูลและ สารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ (64)1 การกำหนดกระบวนการ (70)7 การกำหนดกระบวนการ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด (71)8 การจัดทำข้อกำหนด (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบ สารสนเทศและอุปกรณ์ ( (66)3 การออกแบบกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการ (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ (35)3 การปรับปรุง ระบบการวัดผล (41)9 การจัดการความรู้ (KM) (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ (73)10 การนำกระบวนการ ไปปฏิบัติ (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติ ที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ (68)5 การลดค่าใช้จ่าย และป้องกันข้อผิดพลาด (74)11การลดค่าใช้จ่าย และป้องกันข้อผิดพลาด (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ (75)12การปรับปรุงกระบวนการ

1. การนำองค์กร P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 1.1 การนำองค์กร ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 17 หัวข้อ 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)

คำถามการประเมิน ตามเกณฑ์ PMQA

4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

P. ลักษณะสำคัญขององค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร/การกำกับดูแลตนเองที่ดี 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน (คู่เทียบ) 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ด้านพันธกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านบุคลากร 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร

1. ลักษณะองค์กร ลักษณะสำคัญขององค์กรของกรมศุลกากร ข้อมูลปี งปม. 2549 ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ 1. พันธกิจของกรมศุลกากร : บรรลุมาตรฐานศุลกากรโลก สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน ปกป้องเศรษฐกิจและสังคม 2. หน้าที่ตามกฎหมาย : ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการส่งออก โดยมาตรการทางภาษีอากร เสนอแนะเพื่อกำหนดนโยบายการจัดเก็บภาษีอากรในทางศุลกากรต่อกระทรวง 3. ผู้รับบริการ : (1) ผู้นำของเข้า/ส่งของออก (2)ตัวแทนออกของรับอนุญาต (3)ผู้ประกอบการขนส่ง และผู้ควบคุมยานพาหนะ (4) ผู้ประกอบการโรงพักสินค้า คลังสินค้าทัณฑ์บน เขตปลอดอากร ทำเนียบท่าเรือ และสนามบินศุลกากร (5) เจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา (6) ตัวแทนเรือ/สายการบิน (7) ประชาชนทั่วไป (8) ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง (9) ผู้ประกอบการที่สุจริต ประชาชนผู้เกี่ยวข้อง หรือมีผลกระทบโดยตรง วิสัยทัศน์ : ศุลกากรมาตรฐานโลก เพื่อความสามารถในการแข่งขันและความปลอดภัยทางสังคม หมวด 6 การออกแบบกระบวนการ หมวด 3 การจำแนกและกำหนดความต้องการ หมวด 1 การนำองค์กร

ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ (ต่อ) ลักษณะสำคัญขององค์กรของกรมศุลกากร ข้อมูลปี งปม. 2549 ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ (ต่อ) 5. เป้าประสงค์หลัก : 1. พัฒนาระบบงาน และบุคลากรให้เป็นไปตามมาตรฐานศุลกากรโลก 2. เพิ่มความทันสมัยมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความโปร่งใสในการบริหารงานศุลกากร 3. เพิ่มการอำนวยความสะดวกทางการค้า ความโปร่งใสในการทำงาน และการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน 4. การบริหารจัดเก็บภาษีศุลกากรอย่างมีประสิทธภาพ ประสิทธผล และเป็นธรรม 5. การจัดเก็บภาษีศุลกากรมีความทันสมัยมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเป็นไปตามเป้าหมาย 6. สังคมมีความปลอดภัยจากสินค้าที่เป็นอันตราย หมวด 1 ความรับผิดชอบต่อสังคม 6. วัฒนธรรม : ยังไม่ได้กำหนดไว้อย่างมีส่วนร่วม 7. ค่านิยม : ยังไม่ได้กำหนดไว้อย่างมีส่วนร่วม หมวด 1 การนำองค์กร 8. บุคลากร : ข้าราชการ 4,420 คน อายุเฉลี่ย 48.50 ปี อายุราชการเฉลี่ย 23.51 ปี ลูกจ้างประจำ 470 คน พนักงานราชการ 651 คน 9. เทคโนโลยี : ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอินทราเน็ต (Intra net) ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบ e-Customs /e-Import /e-Export ระบบ X-Ray เทคโนโลยีฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล 10. กฎหมายระเบียบ : กฎหมายต่างๆ ถึง 46 ฉบับ หมวด 2 การวางแผนทรัพยากรบุคคล หมวด 5 บุคลากร หมวด 6 การออกแบบกระบวนการ หมวด 1 ความรับผิดชอบต่อสังคม

ข. ความสัมพันธ์ภายในภายนอกองค์กร ลักษณะสำคัญขององค์กรของกรมศุลกากร ข้อมูลปี งปม. 2549 ข. ความสัมพันธ์ภายในภายนอกองค์กร หมวด 1 ความรับผิดชอบต่อสังคม โครงสร้าง : แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มภารกิจ คือ (1) กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ (2) กลุ่มภารกิจด้านอำนวยการ (3) กลุ่มภารกิจด้านจัดเก็บภาษีอากร (4) กลุ่มภารกิจด้านสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร (5) กลุ่มภารกิจด้านความเป็นธรรมทางภาษีอากร การกำกับดูแลตนเองที่ดี : การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน รายเดือน/รายไตรมาส/รายปี การตรวจสอบภายใน รายงานการควบคุมภายในของหน่วยงานระดับองค์กรและระดับหน่วยงานย่อย มีศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ โทร. สายตรง 1332 รับแจ้งข้อร้องเรียน การทำ MOU ประสานความร่วมมือระหว่าง กรมศุลกากรกับผู้ประกอบการ ในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบเกี่ยวกับงานบริการศุลกากร ข้อกำหนดในการทำงานร่วมกันกับหน่วยงานอื่น : สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง โปร่งใส และ เป็นธรรม 14. ความคาดหวังของผู้รับบริการ : บริการที่สะดวก รวดเร็ว โปร่งใสถูกต้อง มีมาตรฐาน และมีความเป็นธรรม ทางภาษีอากร หมวด 1 ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 6 การออกแบบกระบวนการ หมวด 6 การออกแบบกระบวนการ

15. ยังไม่ได้กำหนดคู่เทียบเคียงผลการดำเนินงาน ลักษณะสำคัญขององค์กรของกรมศุลกากร ข้อมูลปี งปม. 2549 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน หมวด 2 ปัจจัยประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 15. ยังไม่ได้กำหนดคู่เทียบเคียงผลการดำเนินงาน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ 16. ความท้าทาย : หมวด 2 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ด้านพันธกิจ : 1. ศุลกากรไทยสู่ศุลกากรมาตรฐานโลก 2. สร้างความสมดุลระหว่างการควบคุมทางศุลกากรและการอำนวยความสะดวกทางการค้า ด้านปฏิบัติการ : 1. สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ 2. การปฏิบัติงานและการให้บริการศุลกากรได้ตามมาตรฐานสากล ด้านทรัพยากรบุคคล : 1. สร้างค่านิยมให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติงานด้วยความซึ่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มีความประพฤติดี มีความ พอเพียงอย่างสมเหตุสมผล 2. สร้างบุคลากรที่มีความชำนาญอย่างมืออาชีพ 3. สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน หมวด 1/2/3/4/5/6 แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน : กรมศุลกากรยังไม่ได้กำหนดแนวทางและวิธีการ ปรับปรับปรุงประสิทธิภาพงานบริการต่างๆ ของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน แต่อย่างไรก็ตาม กรมศุลกากรได้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพบางขั้นตอนของกระบวนงานดังกล่าวแล้ว แนวทางการเรียนรู้ในองค์กร : การอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน การศึกษาต่อ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

แนวทางการประเมินหมวด 1-6 ประเภทคำถาม WHAT มิติการประเมิน WHAT 1 การตอบได้ครบถ้วนตามประเด็นคำถาม 2 การตอบได้ถูกต้องตามประเด็นคำถาม 3 การนำเสนอข้อมูลได้อย่างชัดเจนตามความเป็นจริง

แนวทางการประเมินหมวด 1-6 คำถามประเภท HOW มิติการประเมิน มิติย่อย A (Approach) 1 การตั้งวัตถุประสงค์ การมีแนวทาง 2 การวางแผนดำเนินงาน 3 การวางแผนประเมินและตัวชี้วัด D (Deployment) 1 การปฏิบัติตามแผนดำเนินงาน การปฏิบัติ 2 ความรับผิดชอบของบุคลากร 3 ความมุ่งมั่นตั้งใจของบุคลากร L (Learning) 1 การติดตามประเมินผลและการปรับปรุง การเรียนรู้ 2 การสรุปบทเรียนและสร้างนวัตกรรม 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับปรุง I (Integration) 1 ความสอดคล้องของระบบจัดการ การบูรณาการ 2 การใช้ระบบตัววัด การประเมิน การปรับปรุง 3 การมีแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมาย

หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (2)2 นโยบาย/วิธีปฏิบัติ (สร้างบรรยากาศ) 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย How 10 What 2

1.1 การนำองค์กร วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร (1) เป้าประสงค์ ค่านิยม 2 ways แต่ละกลุ่ม OP 3,8 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ (1) ผลการดำเนินการที่คาดหวัง Stakeholder โดยยึดหลักโปร่งใส สร้างบรรยากาศ (2) ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) 1.1 เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) (3) ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ทบทวนผลการดำเนินการ (4) หมวด 2 ประเมินความสามารถการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ (6) ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (6) ระบบประเมินผลผู้บริหาร (7)

การทำงานมีผลกระทบต่อสังคม ทำงานอย่างมีจริยธรรม (11) ความรับผิดชอบสังคม 1.2 การทำงานมีผลกระทบต่อสังคม ทำงานอย่างมีจริยธรรม (11) การสนับสนุน ชุมชน (12) เชิงรับ (8-9) แก้ไข ? เชิงรุก (10) คาดการณ์ ป้องกัน กำหนดวิธีปฏิบัติให้มีจริยธรรมต่อคนข้างนอก เลือกชุมชน เลือกกิจกรรม สื่อสาร สร้างความเข้าใจ การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม ติดตามผล

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผนระยะยาว (4 ปี) 1.2 แผนระยะสั้น (1 ปี) ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what 3.1 ประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ดูความท้าทาย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score How 5 What 4

2.1 2.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ทิศทางองค์กร ภายนอก วางแผนยุทธศาสตร์ (1) ปัจจัย (9 ตัว) (2) โอกาส/ความท้าทาย (OP 13) ระยะสั้น ยาว ภายใน (4) 2.1 ผู้รับบริการ/IT/คู่เทียบ/บุคลากร/จุดแข็ง จุดอ่อน/การปรับเปลี่ยนทรัพยากร ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก (3) Stakeholder (OP 3,7,8) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) (5) การคาดการณ์ (9) - ผลปีที่ผ่านมา - คู่เทียบ สื่อสาร สร้างความเข้าใจ การบริหารความเสี่ยง (6) 2.2 แผนปฏิบัติการ (5) ตัวชี้วัด ใช้ติดตาม (8) เป้าหมาย แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล (7) (หมวด 5) จัดสรรทรัพยากร (5) นำไปปฏิบัติ

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ ตอบสนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น * (26)5 การสร้างระบบให้ผู้รับบริการ 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ร้องเรียน 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เหมาะสม ทันสมัย How 11 What 0

3.1 3.2 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ (1) ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต สอดคล้องตาม OP (8) หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม 3.1 รับฟังความต้องการ/ความคาดหวัง * (2-3) วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) (5) พัฒนาบริการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล - ขอรับบริการ - ร้องเรียน - กิจกรรม ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี * (4,7) 3.2 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ (5) กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน (6) ติดตามคุณภาพบริการ (9) วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ * (8,11) ข้อมูลเปรียบเทียบ (10) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6)

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก.ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ ก.การวัดผลการดำเนินการ ข.การวิเคราะห์ผล การดำเนินการ (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ ความครอบคลุม .ความรวดเร็ว ความถูกต้อง ความทันสมัย ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ให้เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย KM (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ IT IT How 9 What 1

เลือกข้อมูลสารสนเทศ (1) สื่อสารผล การวิเคราะห์ (5) ระบบการวัด* (3) ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management - leading/lagging indicator (3) - ข้อมูลเปรียบเทียบ (2) ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ (1) นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม (1) ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) 4.1 วิเคราะห์ผล (4) วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผล การวิเคราะห์ (5) สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ* (8) - ข้อมูลสารสนเทศ (6) - อุปกรณ์สารสนเทศ (7) - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย สอดคล้องตาม OP (15) 4.2 การจัดการความรู้ (9) คุณสมบัติ 11 ประการ (10) ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ (10) - คุณสมบัติ 11 ประการ รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing

หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อความคล่องตัว เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของบุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1 การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2 การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3 การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการแจ้งผล เพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรมมาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร HR Scorecard How 21 What 0

หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร ก. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย ความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร 20.1การประเมินความพอใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR Scorecard

5.1 5.2 ความร่วมมือ จัดโครงสร้างการทำงาน (1) ทางการ/ไม่ทางการ ความคิดริเริ่ม นำความคิดหลากหลายมาใช้ (2) - บุคลากร/ชุมชน กระจายอำนาจ ความคล่องตัว นวัตกรรม วางตำแหน่ง/แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ (1) ตอบสนองผู้รับบริการ สอดคล้องตามค่านิยม สื่อสารอย่างมีประสิทธิผล (3) (internal communication) สอดคล้องตาม OP (3,15) ระบบยากย่อง/จูงใจ (4) ระบบประเมินผล (4) กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น (5) 5.1 สรรหา/ว่าจ้าง (6) สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน - แผนสืบทอดตำแหน่ง (7) Succession Plan - บุคลากรท้องถิ่น (8) ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร (9,12) ทางการ/ไม่ทางการ บุคลากร หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) 5.2 องค์กร การให้การศึกษาฝึกอบรมพื้นฐาน 7 เรื่อง (10) (11) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ (13) จูงใจให้พัฒนาตนเอง (15) ประเมินผล (14) - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร

การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ 5.3 ความพึงพอใจ สภาพแวดล้อมการทำงาน สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน (16) - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย - การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน (17) หาปัจจัย (18) กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน (20) สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ (19) ประเมินผล จัดลำดับความสำคัญ (21) สอดคล้องกับผลลัพธ์องค์กร ปรับปรุง

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง 4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน How 12 What 6

การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) กำหนดกระบวนการ (1) 6.1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ (2) กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP 5) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบ กระบวนการ (3) ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ เป้าหมายภารกิจ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ (4) การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ (4) ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ (5) ป้องกัน ความผิดพลาด (5) ปรับปรุงกระบวนการ (6) สอดคล้องตาม OP (14) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) นวัตกรรม

Le (Level) T (Trend) C (Compare) Li (Linkage) แนวทางการประเมิน หมวด 7 LeTCLi Le (Level) T (Trend) C (Compare) Li (Linkage) ประเด็นพิจารณาตามเกณฑ์ ระดับผลลัพธ์ของการดำเนินงานบรรลุผลตามค่าเป้าหมายในทุกตัวชี้วัด ทิศทางแนวโน้มของผลลัพธ์การดำเนินงานมีทิศทางที่ดีหรือเหมาะสมในทุกตัวชี้วัด ระดับของผลการเปรียบเทียบค่าผลลัพธ์กับหน่วยงานอื่น มีผลในระดับแนวหน้าของกลุ่ม ในทุกตัวชี้วัดที่สำคัญ ความครอบคลุมของตัวชี้วัด และระดับผลลัพธ์ที่สามารถแสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและโครงการสำคัญขององค์กร

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (หมวด 2) (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (หมวด 3.2 ตามกลุ่ม) (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (หมวด 3.2) (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (หมวด 6.1) (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (6.2) (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (หมวด 1.1 ข(3) (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (หมวด 1.1 ก(2),1.2 ข(11)) (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (หมวด 1.2 ค(12)) (87)12 ผลด้านระบบงาน (หมวด 5.1) (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (หมวด 5.2) (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (หมวด 5.3 ข) (90)15 ผลด้านพฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม (หมวด 1)

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์ ระหว่างลักษณะสำคัญขององค์กรกับหมวด 1-7

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์ระหว่างหมวดต่าง ๆ

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์ระหว่างหมวดต่าง ๆ

Q & A Thank you