การวางแผนกลยุทธ์/ยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ตัวชี้วัดที่ 2.6 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีนวัตกรรม (Innovation Base) อย่างน้อย 1 เรื่อง โดย นายแพทย์ชัยพร พรหมสิงห์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
Supply Chain Management
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผนกลยุทธ์/ยุทธศาสตร์

Model ของการวางแผนที่ประเทศไทยใช้ในปัจจุบัน การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) ปัญหา ประเมินผล (Evaluation) จัดลำดับความสำคัญ ของปัญหา (Priority Setting) ปฏิบัติการตามแผน (Implementation) เขียนวัตถุประสงค์ ของแผนงาน (Objectives Formulation) แผนดำเนินการ (Operational Plan) จัดทำทางเลือกของการแก้ไข ปัญหา (ยุทธศาสตร์) (Strategies/Options)

แผนระดับกรม/สำนัก อาจมีมาตรการมารองรับ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Goal/Aim) หรือจุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ (Objectives/ หรือจุดประสงค์ (Purpose) ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์ (Strategies) อาจมีมาตรการมารองรับ มาตรการเชิงนโยบาย มาตรการที่ช่วยเอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงาน

กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์(STRATEGIES) วิสัยทัศน์ (VISION) พันธกิจ (MISSION) เป้าประสงค์ (Goals) วัตถุประสงค์ (OBJECTIVES) กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์(STRATEGIES) กลวิธี/ยุทธวิธี (TACTICS) ประเมิน (ตัวชี้วัด, เครื่องชี้วัด,ดัชนี) ประเมิน (องค์ประกอบ)

MODIFIED TREE DIAGRAM แผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ 2 วัตถุประสงค์ 3 วัตถุประสงค์ 1 กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ โครงการ 1 โครงการ 2 โครงการ 3 แผนปฏิบัติการ ที่เป็นงานประจำ

เงื่อนไขในการประเมินประสิทธิผล กำกับด้วยเวลา ต้นทุน - ประสิทธิผล มีประโยชน์ Stakeholders ประสิทธิผล ของการวางแผนงาน มีความถูกต้อง และมีตัววัด Indicators ตรวจสอบได้ Accountable มีขอบเขต ที่ชัดเจน เงื่อนไขในการประเมินประสิทธิผล ของการวางแผน

แผนกลยุทธ์ / แผนยุทธศาสตร์ เป็นแผนที่จัดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป เป็นการแสดงให้เห็นถึงพันธสัญญา (Commitment) ในระยะยาว ในการสร้างสรรค์งานคุณภาพและแสดง ให้เห็นถึงปรัชญาที่สอดแทรกอยู่ในวัตถุประสงค์ที่ องค์กรนั้นอยากให้เกิดขึ้น เป็นแผนที่มีการผสมผสานการบริหารงานคุณภาพ โดยรวมอยู่ในกระบวนการวางแผน

กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ ขั้นที่ 1 เขียนวัตถุประสงค์ขององค์การ และแต่ละ หน่วยย่อยในองค์การ ขั้นที่ 2 วิเคราะห์สถานการณ์ โดยต้องใช้การทำนาย บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริง * อะไรเป็นปัจจัยที่ควบคุมได้ * อะไรเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้

ขั้นที่ 3 ระบุทางเลือกที่เป็นไปได้ ขั้นที่ 4 ประเมินทางเลือก ขั้นที่ 5 เลือกทางเลือกที่มีความเหมาะสมมากที่สุด ขั้นที่ 6 เขียนแผนกลยุทธ์ ขั้นที่ 7 ดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 8 ประเมินผลแผนงาน

การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) หมายถึง กระบวนการจัดทำ และปฏิบัติการทางยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) เป็นแผน ปฏิบัติการชนิดเบ็ดเสร็จที่ระบุทิศทางในระยะยาวและ แนะแนวทางการใช้ทรัพยากรเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์ขององค์การ

ภารกิจของการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ 5 ประการ 1. ระบุพันธกิจ เป้าประสงค์และวัตถุประสงค์ขององค์การ คำถาม : องค์การของเรามีหน้าที่อะไร ? ในอนาคตเพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ เราต้องทำอะไร ? 2. ประเมินผลงานในปัจจุบันเพื่อเปรียบเทียบกับพันธกิจและวัตถุประสงค์ คำถาม : ปัจจุบันเราทำได้ดีแค่ไหน ? 3. วางแผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ คำถาม : เราจะได้ในสิ่งที่เราคาดหวังไว้อย่างไร ? 4. ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ คำถาม : สิ่งที่ได้ทำไปแล้วเป็นสิ่งที่ต้องทำใช่ไหม ? 5. ประเมินผล ปรับแผน หรือกระบวนการถ้าจำเป็น คำถาม : ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้หรือไม่ และอะไรต้องปรับปรุง

การบริหารงานคุณภาพโดยรวม (TQM) ที่ดำเนินการโดยขาดการวางแผนกลยุทธ์มารองรับ หรือวางแผนกลยุทธ์โดยขาดการบริหารงานคุณภาพโดยรวม จะเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดจุดอ่อนในการบริหารงาน โดยเฉพาะ การบริหารงานจะเป็นไปในรูปแบบแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า มากกว่ามองปัญหาในระยะยาว

การบริหารงานคุณภาพโดยรวม (TQM) = การปรับปรุงคุณภาพ * มุ่งเน้นที่ผู้รับบริการ * การทำให้บุคลากรเข้มแข็ง * ใช้วิธีการทำงานที่มีระบบ * มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การวางแผนกลยุทธ์เชิงคุณภาพ ระยะที่ 1 ประเมินสถานการณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ค่านิยมในการทำงาน, แนวทางการดำเนินงาน, หลักการ, คำสำคัญ

ระยะที่ 2 *** (ยุทธศาสตร์ จะมีมาตรการมารองรับเพื่อ เป้าประสงค์ (ตัวชี้วัด) วัตถุประสงค์ (ตัวชี้วัด) กลยุทธ์ / ยุทธศาสตร์*** แผนงาน โครงการ *** (ยุทธศาสตร์ จะมีมาตรการมารองรับเพื่อ เอื้ออำนวยให้ยุทธศาสตร์ดำเนินการได้จริงก็ได้)

การดำเนินงาน โดย ระยะที่ 3 ปฏิบัติการ / เปลี่ยนแปลง กลุ่มงาน / หน่วยงาน ภาวะผู้นำ ทีมงานจาก หลายกลุ่ม / หน่วยงาน ปัจเจกบุคคล

ระยะที่ 4 ประเมินผลและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ติดตามประเมินผล ประเมินผลสรุปรวม ปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สภาพแวดล้อมในการทำงาน บุคลากรได้รับการส่งเสริมศักยภาพ การดำเนินงานได้รับการปรับปรุงมาตรฐาน

ความสามารถในการจินตนาการว่าประเทศ สังคม วิสัยทัศน์ (Vision) ความสามารถในการจินตนาการว่าประเทศ สังคม อุตสาหกรรม ฯลฯ จะพัฒนาไปอย่างไรในอนาคตและ ความสามารถที่จะวางแผนในลักษณะที่เหมาะสม (เพื่อให้เป็นไปตามจินตนาการ) The ability to imaging how a country, society, industry, etc. will develop in the future and to plan in a suitable way. (Cambridge International Dictionary of English, 1995)

ทำไมต้องจัดทำวิสัยทัศน์ 1. เพื่อให้ผู้คนเกิดแรงบันดาลใจ (Inspiration) 2. ก่อให้เกิดข้อผูกพัน การเอาใจใส่เต็มใจที่จะทำงาน (Commitment) 3. ช่วยการประสานงานและการตัดสินใจที่มีการคิดทบทวน 4. ช่วยให้วัตถุประสงค์ของการพัฒนางานมีความคงที่ มุ่งไปที่เรื่องเดียวกัน

แนวคิดเรื่องวิสัยทัศน์ (VisionConcept) 1. คุณค่าทางสังคม (Social Value) เพื่อสร้างค่านิยม ที่พึงประสงค์ 2. เกิดจากแรงขับ (Driving Force) เป็นเรื่องของแต่ละ หน่วยงานที่พยายามจะไปให้ถึงในสิ่งที่ตนตั้งเป้าประสงค์ไว้ 3. แนวคิดที่เน้นกลยุทธ์ หรือกระบวนการ (Strategic Intent) ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

วิธีการสร้างวิสัยทัศน์ 1. ร่วมกันคิด (Shared World View) ใช้วิธีการแลกเปลี่ยน ความคิดซึ่งกันและกันของคนในองค์กร โดยวิเคราะห์ สภาพแวดล้อม ปัญหา จุดอ่อน จุดแข็ง ดูโอกาส “SWOT” และดูว่าจะไปทิศทางใด 2. ขอยืมความคิด (Rent-Driven) เป็นวิธีการทางเศรษฐศาสตร์

เนื้อหาในการพิจารณาเพื่อสร้าง เนื้อหาวิสัยทัศน์ 1. บอกสภาพแวดล้อมว่ามีอะไรที่เป็นอุปสรรคต่อองค์กร 2. องค์กรมีศักยภาพอะไรที่จะช่วงชิงโอกาส หรือต่อสู้กับ ปัจจัยภายนอก 3. ทรัพยากรมีเพียงพอและมีประสิทธิภาพดีหรือไม่ 4. มีข้อจำกัดอะไรในเรื่องทรัพยากร 5. อะไรคือแนวทางที่จะเดินไปสู่สิ่งที่ต้องการ

กลยุทธ์การสร้างวิสัยทัศน์ที่ เป็นสากล (Global Strategy) 1. การพัฒนาวิสัยทัศน์(Vision Development) 2. ดูความแข็งแกร่งภายในองค์กร (Internal Strength) 3. ดูว่ามีบริการอะไรที่จะจัดหาให้ ผู้รับบริการ (Service Delivery) 4. หาเทคโนโลยีที่ใช้ในเรื่องข่าวสารข้อมูลในองค์กร (Information Technology) 5. จัดทำวัตถุประสงค์ขององค์กรให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ (Objective Setting) 6. มีเครือข่ายเพื่อการประสานงาน (Networking)

เพื่อให้ได้วิสัยทัศน์ สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงในองค์กร 1. โครงสร้างขององค์กร (Dimension of Organization Structure) 2. วัฒนธรรมขององค์กร (Dimension of Organization Culture)

การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม องค์กรทำได้โดย 1. ปรับวิธีการวางนโยบายและแผนงาน 2. ปรับวิธีการทำงาน 3. ปรับวิธีการติดตามและประเมินผล 4. ปรับวิธีการบริหารงานบุคคลและพัฒนาบุคลากร HRD / HRM 5. ปรับระบบสารสนเทศและการ จัดการ MIS / HIS 6. ปรับระบบการให้เงิน ดูต้นทุนต่อหน่วย

* ก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทาง วิสัยทัศน์ เช่น * ก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทาง วิชาการและความเป็นนานาชาติ * เป็นศูนย์รวมของนานาชาติ ในด้านการค้นคว้า วิจัยไวรัสวิทยา * มุ่งสู่ความเป็นหนึ่งของประเทศในด้านบริการ สารสนเทศ

มีวิสัยทัศน์ แต่ไม่ลงมือทำ ก็เท่ากับฝันไป ขยันทำ แต่ไม่มีวิสัยทัศน์ ก็เท่ากับเสียเวลาเปล่า มีวิสัยทัศน์ และขยันทำด้วย จะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นใน โลกก็ย่อมได้ Joel Barker, The Power of Vision

พันธกิจ (MISSION) (ภารกิจ ??) พันธกิจขององค์กรใด คือ เหตุผลขององค์กรนั้นในการที่จะต้องคงอยู่ในฐานะที่เป็นผู้ผลิต หรือจำหน่ายสินค้า และบริการนั้น ๆ ให้กับสังคม

ในการเขียนพันธกิจ สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การมีวัฒนธรรมร่วม (Corporate Culture) โดยเฉพาะ วัฒนธรรมของแต่ละองค์กร ในองค์การนั้น ๆ เช่น จุดเน้นของหน่วยงาน * เน้นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ * เน้นความรับผิดชอบต่อสังคม * เน้นกำไรที่ได้คืนกลับให้สังคม เป็นต้น

การเขียนข้อความของพันธกิจ Providers Places Consumers Philosophy Products ข้อความของพันธกิจที่ดีต้องมีความถูกต้องในการที่จะระบุขอบเขต (Domain) ถึงสิ่งที่องค์การนั้นตั้งใจจะปฏิบัติ โดยอาจรวมไปถึง

* ผู้มารับบริการที่เราจะให้บริการ * ผู้ให้บริการ * สินค้า หรือบริการที่เราต้องจัดหา * สถานที่ที่เราตั้งใจจะดำเนินการ * ปรัชญาของการทำงาน

เช่น มุ่งสู่การเป็นโรงพยาบาลที่ให้การดูแล สุขภาพอนามัย โดยจัดหาบริการที่ดีที่สุด ให้แก่ผู้รับบริการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยเน้นในเรื่องการใช้นวัตกรรมความเป็นเลิศ ทางการแพทย์ และบริการ ด้วยคุณภาพที่ สูงสุดในทุกบริการ

ที่ใดก็ตามที่มีการเขียนพันธกิจไว้ต้องมีการเขียน วัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้ชัดว่าพันธกิจดังกล่าว จะแปลมาเป็นการปฏิบัติได้อย่างไร วัตถุประสงค์ที่เขียนในแผนจะเป็นตัวที่บอกว่าองค์การ/องค์กรนั้นๆ พยายามที่จะทำสิ่งใดให้เกิดผลสำเร็จ (Specific results)

การเขียนพันธกิจของบริษัทที่มีชื่อเสียง ยกตัวอย่าง การเขียนพันธกิจของบริษัทที่มีชื่อเสียง บริษัท 3 M เพื่อแก้ปัญหาที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขโดยใช้นวัตกรรม บริษัทเครื่องสำอางค์ Mary Kay เพื่อให้โอกาสอย่างไม่มีข้อจำกัดแก่สุภาพสตรี (ในการเลือกใช้เครื่องสำอางค์) บริษัท Merch เพื่อรักษาไว้และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ชาติ

วิสัยทัศน์ : เป็นบริษัทชั้นนำของสหรัฐ-อเมริกาที่คงไว้ ซึ่ง บริษัทเชลล์ วิสัยทัศน์ : เป็นบริษัทชั้นนำของสหรัฐ-อเมริกาที่คงไว้ ซึ่ง ผลงานในระดับโลกในทุก ๆ ด้านของธุรกิจของบริษัท พันธกิจ : เพิ่มคุณค่าสูงสุดในระยะยาว โดยทำให้ความคาดหวัง ของลูกค้า พนักงาน ผู้ค้าย่อย และสาธารณชนเป็นจริง อย่างดีที่สุด เป้าประสงค์ : เพิ่มความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่อง คุณภาพบริการจาก 65% เป็น 80%

การวิเคราะห์สถานการณ์ 1. SWOT Analysis 2. Flow charts S W O T 3. Fishbones 4. Data Collection Instrument

การประเมินภายในองค์การ การประเมินสิ่งแวดล้อมภายนอก อะไรคือจุดแข็ง ?(Strength) ประสิทธิภาพของการผลิต ความรู้ความชำนาญ การได้รับความเชื่อถือ ความทุ่มเทและตั้งใจทำงาน อะไรคือจุดอ่อน ?(Weakness) ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกในการทำงาน ขาดการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีล้าสมัย ขาดเงินหมุนเวียน การบริหารจัดการอ่อนแอ SWOT ANALYSIS อะไรคือโอกาส ? (Opportunity) เศรษฐกิจฟื้นตัว ผู้บริโภคมีอำนาจซื้อ คู่แข่งไม่ได้รับความเชื่อถือ ประชาชนพร้อมให้ความร่วมมือ อะไรคือสิ่งคุกคาม ?(Threat) คู่แข่งเพิ่มมากขึ้น ทรัพยากรมีน้อยลง ผู้บริโภคเปลี่ยนความนิยม ระเบียบใหม่ของรัฐบาล ทางเลือกมากขึ้น การประเมินสิ่งแวดล้อมภายนอก

การประเมินปัจจัยภายในองค์กร 1. ภาวะผู้นำของผู้บริหารระดับสูง 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร 3. บุคลากรทางด้านการแพทย์ 4. การทำงานเป็นทีม และการให้เจ้าหน้าที่ในองค์กร มีความเข้มแข็ง 5. โครงสร้างองค์กร และสิ่งอำนวยความสะดวก ในการทำงาน

6. มีการวางแผนกลยุทธ์ที่มีคุณภาพหรือไม่ 7. มีการยึดผู้รับบริการเป็นสำคัญหรือไม่และมีการบอกผู้ รับบริการถึงบริการที่มีอยู่มากน้อยเพียงใด 8. มีการประเมินและการวิเคราะห์สถานการณ์ขององค์กร เจ้าหน้าที่ แผนงานหรือผลงานที่ได้ปฏิบัติไปแล้วหรือไม่ 9. ผลที่ได้จากการประเมินมีการนำมาใช้ปรับปรุงงาน องค์กร มากน้อยเพียงใด

การประเมินปัจจัยภายนอกองค์กร 1. ภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ทรัพยากรในชุมชนหรือในพื้นที่ 3. เทคโนโลยีและความรู้หรือวิทยาการสมัยใหม่ 4. ระเบียบปฏิบัติ การต้องได้ใบอนุญาตหรือการ ต้องมีการรับรองคุณภาพ 5. การแข่งขัน / การเมือง 6. ตัวแปรทางด้านประชากรและวัฒนธรรม 7. การจัดการเรื่องของการเงินในระบบบริการสุขภาพ

การวิเคราะห์สถานการณ์ เราไม่ใช้ 7s ของ McKinsey เพราะ7s ใช้วิเคราะห์ องค์กรที่ประสบความสำเร็จ โดย หาความสัมพันธ์ของ Structure, Systems, Style, Staff, Skills, Strategy และ Shared value แนวคิดนี้นำเสนอครั้งแรกเมื่อ 1980 โดย Robert Waterman, Tom Peter and Julien Phillips

+ กลยุทธ์ คือ สิ่งที่เป็นเหมือนแรงขับ ทำให้เราต้องปฏิบัติตามกลุ่ม / คือ สิ่งที่เป็นเหมือนแรงขับ ทำให้เราต้องปฏิบัติตามกลุ่ม / ชุดของกิจกรรมที่จะนำไปสู่ ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ เฉพาะอย่าง STRATEGY STRATEGOS = นายพล + STRATOS = กองทัพ

คุณลักษณะของกลยุทธ์ / ยุทธศาสตร์ เป็นวิธีการที่ทำให้เกิด 1. ความตื่นตัว แคล่วคล่อง 2. ทำให้เกิดความถูกต้อง 3. มีประสิทธิภาพ 4. มีสิ่งใหม่ ๆ ที่ทำให้เกิดความประหลาดใจ 5. มีความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างดี

คุณลักษณะของกลยุทธ์ / ยุทธศาสตร์ (ต่อ) 6. แสดงสติปัญญา ความฉลาด 7. เป็นจินตนาการที่อยากปฏิบัติ 8. เป็นนวัตกรรม 9. ใช้ทรัพยากรที่จัดหาได้ 10. มีการเตรียมการ 11. มีลักษณะการจู่โจม

Worksheet 1 SWOT ANALYSIS และ SWOT Matrix ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาสพัฒนา (Opportunity) 1. 2. 3. 4. 5. ข้อจำกัด (Threat) กลยุทธ์ SO กลยุทธ์ ST กลยุทธ์ WO กลยุทธ์ WT

นี่เป็นเรื่องราวของคนสี่คน ซึ่งมีชื่อว่า ทุกคน, บางคน, ใครคนใดคนหนึ่ง, ไม่มีใคร (1) (2) (3) (4) มีงานสำคัญหนึ่งต้องทำ ทุกคนเชื่อมั่นว่าบางคน จะทำงานนั้นซึ่งใครคนใดคนหนึ่ง ก็ทำได้ แต่ไม่มีใคร ทำ บางคนโมโหกับ เรื่องนี้มากเพราะมันเป็นงานของทุกคน ทุกคน คิดว่า ใครคนใดคนหนึ่ง ก็ทำได้ แต่ไม่มีใคร คาดคิดว่าทุกคนจะไม่ทำผลสุดท้าย ทุกคน โทษบางคน เมื่อ ไม่มีใคร ทำสิ่งที่ใครคนใดคนหนึ่ง ก็ทำได้

สวัสดีครับ คำถาม