สื่อมวลชนสัญจรและคณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แผนงานสำรวจรังวัดแปลงเกษตรกรรมและปิดพื้นที่ ปีงบประมาณ 2557 ภาค / จังหวัด ช่าง สำรวจ จว. จำนวน กล้อง จว. แผนปิดอำเภอ ปี 57 ( ไร่ ) แผนรังวัด เกษตร ( ไร่
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
อัตราพื้นที่ใช้สอยในแต่ละหน่วยงาน ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อมวลชนสัญจรและคณะ ยินดีต้อนรับ สื่อมวลชนสัญจรและคณะ

ขอบเขตพื้นที่รับผิดชอบ เขื่อนแม่กลอง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี Regional Irrigation Office XIII สำนักชลประทานที่ 13 กาญจนบุรี 12,347,858 ไร่ Kanchanaburi สุพรรณบุรี(บางส่วน) 374,692 ไร่ Suphanburi รวมพื้นที่ 17,826,269 ไร่ พื้นที่เกษตร 5 ล้านไร่ พื้นที่ชลประทาน 2.62 ล้านไร่ นครปฐม 1,355,204 ไร่ Nakhonpathom สมุทรสาคร(บางส่วน) 194,284 ไร่ ราชบุรี 3,247,789 ไร่ Samutsakhon Ratchaburi สมุทรสงคราม 200,442 ไร่ เพชรบุรี(บางส่วน) 106,000 ไร่ Samutsongkhram Phetchaburi

พื้นที่ลุ่มน้ำในเขตสำนักชลประทานที่ 13 กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม ชัยนาท สุพรรณบุรี สมุทรสาคร พื้นที่ลุ่มน้ำในเขตสำนักชลประทานที่ 13 แควใหญ่ แควน้อย ท่าจีน ห้วยตะเพิน ที่ราบแม่กลอง ลำภาชี

สถานการณ์ปริมาณน้ำต้นทุนของโครงการแม่กลองใหญ่ ปี 2552 เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ ที่ราบลุ่มแม่กลอง

ฤดูแล้ง ปี 2551 การระบายน้ำจากเขื่อนวชิราลงกรณ และเขื่อนท่าทุ่งนา แผน 5,600 (6,858) ล้าน ลบ.ม การใช้น้ำในเขตโครงการแม่กลองใหญ่ แผน 3,374 (3,377) ล้าน ลบ.ม การประปานครหลวง แผน 220 (150) ล้าน ลบ.ม ผันให้โครงการเจ้าพระยา แผน 1,005 (522) ล้าน ลบ.ม เดินเรือ ควบคุมความเค็ม และป้องกันน้ำเสีย แผน 1,001 (2,809) ล้าน ลบ.ม

ฤดูฝน ปี 2551 การระบายน้ำจากเขื่อนวชิราลงกรณ และเขื่อนท่าทุ่งนา แผน 5,495 (6,344) ล้าน ลบ.ม การใช้น้ำในเขตโครงการแม่กลองใหญ่ แผน 3,330 (3,095) ล้าน ลบ.ม การประปานครหลวง แผน 160 (123) ล้าน ลบ.ม ผันให้โครงการเจ้าพระยา แผน 900 (97) ล้าน ลบ.ม เดินเรือ ควบคุมความเค็ม และป้องกันน้ำเสีย แผน 1,100 (3,029) ล้าน ลบ.ม

ร ะบบชลประทาน เขื่อนเก็บกักน้ำ คลองแยกซอย คลองสายใหญ่ คลองซอย อาคารทดน้ำ เขื่อน/ฝาย คูส่งน้ำ

พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517 การจัดรูปที่ดินคืออะไร แตกต่างจาก ส.ป.ก. อย่างไร พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517 มาตรา 4 หมายความว่า “ การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลง เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกันเพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่ การจัดระบบชลประทานและการระบายน้ำ การจัดสร้างถนนหรือทางลำเลียงในไร่นา การปรับระดับพื้นที่ดิน การบำรุงดิน การวางแผนการผลิต และการจำหน่ายผลผลิตการเกษตร รวมตลอดถึงการแลกเปลี่ยน การโอน การรับโอนสิทธิในที่ดิน การให้เช่าซื้อที่ดิน และการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดรูปที่ดิน ตลอดจนการจัดเขตที่ดินสำหรับอยู่อาศัย”

การจัดรูปที่ดินคืออะไร แตกต่างจาก ส.ป.ก. อย่างไร พระราชบัญญัติปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มาตรา 4 หมายความว่า “การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิและการถือครอง ในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมรวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐหรือที่ดินที่รัฐ จัดซื้อหรือเวนคืน จากเจ้าของที่ดินเกินสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อจัดให้แก่เกษตรกร ผู้ไม่มีที่ดินของตนเองหรือเกษตรกรที่มีที่ดินเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การ ครองชีพและสถาบันเกษตรกร ได้เช่าซื้อ เช่าหรือเข้าทำประโยชน์โดยรัฐ ให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุง ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต ตลอดจนการผลิตและการจำหน่ายให้ เกิดผลดียิ่งขึ้น ” 9

ทำไมถึงต้องจัดรูปที่ดิน จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางด้านการเกษตร เน้นเรื่องน้ำทำการเกษตรเป็นประการสำคัญ จัดให้มีคูส่งน้ำ คูระบายน้ำ ถนนในแปลงนา มีการปรับพื้นที่ให้ได้รับน้ำ และระบายน้ำได้สะดวก เน้นการบริหารการจัดการน้ำ และประสิทธิภาพการชลประทาน

จัดรูปที่ดินแล้วได้อะไร สามารถรับน้ำและระบายน้ำในแปลงเพาะปลูกได้ตามต้องการ ได้รับความสะดวกในการลำเลียงวัสดุการเกษตรและการขนส่งผลผลิตจากแปลงนาออกสู่ตลาด สามารถปลูกพืชในฤดูแล้งได้ สามารถใช้เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรกลในการเตรียมแปลงและเก็บเกี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ที่ดินมีคุณค่าและประโยชน์มากขึ้นเพราะมีระบบชลประทานที่สมบูรณ์และการคมนาคมในไร่นาที่สะดวก รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น รักษาพื้นที่ทำการเกษตร คุณภาพชีวิต ความมั่นคง และแรงงานไม่ย้ายถิ่น

ประเภทของงานจัดรูปที่ดิน ประเภทที่ 1 การพัฒนาสมบูรณ์แบบ (Intensive model) เป็นการพัฒนาโดยการจัดรูปแปลงใหม่ เนื่องจากรูปแปลงเดิมไม่เหมาะสม และไม่เป็นระเบียบ จัดให้มีคูส่งน้ำ คูระบายน้ำ ถนนหรือทางลำเลียงมีลักษณะเป็นแนวตรงผ่านทุกแปลง อาจจะมีการปรับระดับดินให้ (เท่าที่จำเป็น) ประเภทที่ 2 การพัฒนาบางส่วน (Extensive model) เป็นการพัฒนาโดยการก่อสร้าง คูส่งน้ำ คูระบายน้ำ ถนนหรือทางลำเลียงลัดเลาะไปตามแนวขอบเขตแปลงเดิมโดยไม่มีการจัดรูปแปลงใหม่ เนื่องจากรูปแปลงเดิมมีความเหมาะสม เป็นระเบียบดีอยู่แล้ว และไม่มีการปรับระดับดิน

ผังแปลงก่อนจัดรูปที่ดิน (Intensive model)

ผังแปลงหลังจัดรูปที่ดิน (Intensive model) ถนนเข้าแปลง

ภาพถ่ายทางอากาศเมื่อพื้นที่มีการจัดรูปที่ดินเสร็จเรียบร้อยแล้ว (Intensive model)

งานโครงสร้างพื้นฐาน คูระบายน้ำ

ผังแปลงก่อนจัดรูปที่ดิน (Extensive model)

ผังแปลงหลังจัดรูปที่ดิน (Extensive model)

พื้นที่จัดรูปที่ดินได้ดำเนินการไปแล้ว ในพื้นที่ 27 จังหวัด

การจัดรูปที่ดินได้ดำเนินการตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ปี 2550 จำนวนพื้นที่ 1.856 ล้านไร่ ในพื้นที่ 27 จังหวัด ภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก พิจิตร ลำปาง นครสวรรค์ ภาคกลาง 12 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม ปทุมธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น สกลนคร มหาสารคาม เลย บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี หนองคาย ภาคใต้ 2 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ปัตตานี Intensive 587,500 ไร่ = 31.65 % Extensive 1,268,500 ไร่ = 68.35 %

ระยะเวลาดำเนินการ (ปี) แผนงานจัดรูปที่ดิน ลำดับที่ รายการ ระยะเวลาดำเนินการ (ปี) หมายเหตุ หน่วย : ไร่ รวม 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 1 งานสำรวจ 17,500 75,300 73,010 154,835 139,037 459,682 2 งานออกแบบ 13,270 20,400 89,150 173,695 179,837 476,352 3 งานก่อสร้าง 8,435 13,790 9,575 17,155 62,456 117,310 48,000 276,721 39,205 109,490 82,585 261,140 375,188 297,147

แนวทางในการคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดรูปที่ดิน 1. แหล่งน้ำต้นทุนต้องเพียงพอต่อการส่งน้ำได้ทั้งฤดูฝน และฤดูแล้ง 2. พื้นที่เหมาะสมกับการทำการเกษตร และเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเจ้าของ ที่ดิน 3. เกษตรกร และ/หรือ องค์กรปกครองท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมในการออก ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง ตลอดจนตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ ร่วมกันดูแลบำรุงรักษา สิ่งก่อสร้างสาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน 4. เกษตรกรยอมเสียสละที่ดินสำหรับใช้ก่อสร้างสิ่งสาธารณะที่ใช้ประโยชน์ ร่วมกันไม่เกิน 7 % 5. เกษตรกรเจ้าของที่ดินยินยอมเกินกึ่งหนึ่ง

การประเมินโครงการ สำนักงานจัดรูปที่ดินกลางได้จัดให้มีการประเมินผลโครงการจัดรูปที่ดินหลายครั้ง แต่ในที่นี้ขอนำเสนอการประเมินผลโครงการจัดรูปที่ดิน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 การประเมินผลโดยศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งประเมินผลในพื้นที่โครงการจัดรูปที่ซึ่งใช้เงินกองทุนจัดรูปที่ดิน รวม 6 จังหวัด คือ จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี นครปฐม และสุพรรณบุรี ประเมินผลในโครงการปีเพาะปลูก 2544/2545 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับผลกระทบ ดังนี้

ตารางแสดงผลการประเมินตามกรอบดัชนีชี้วัดความสำเร็จ ของโครงการจัดรูปที่ดิน ดัชนี หน่วย ก่อนจัดรูปที่ดิน หลังจัดรูปที่ดิน ผลต่าง %ต่าง 1. อัตราการใช้ที่ดิน (Cropping Intensity) % 107.18 180.11 72.93 68.04 2. ผลผลิต (รวม) กก./ไร่ 1,188.96 1,588.38 399.42 33.59 - ข้าวนาปี 513.54 728.98 215.44 41.95 - ข้าวนาปรัง 675.42 859.40 183.98 27.24 3. รายได้สุทธิจากข้าว (รวม) บาท/ไร่ 1,718 3,746 2,028 118 571 1,519 948 166 1,147 2,227 1,080 94 ที่มา : ศูนย์วิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2547

การประเมินโครงการ (ต่อ) ครั้งที่ 2 การประเมินผลโครงการจัดรูปที่ดินในประเทศไทย โดยหน่วยวิจัยธุรกิจเกษตรภาควิชาเศรษฐศาสตร์ และทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2539 ซึ่งได้ประเมินผลโครงการ จัดรูปที่ดินพัฒนาสมบูรณ์แบบและพัฒนาบางส่วนเปรียบเทียบกับพื้นที่นอกเขตโครงการจัดรูปที่ดิน ในพื้นที่โครงการของชลประทาน รวม 5 โครงการ คือโครงการเจ้าพระยาใหญ่ (จังหวัดสุพรรณบุรี) โครงการแม่กลอง (จังหวัดราชบุรี) โครงการพิษณุโลก (จังหวัดพิษณุโลก) โครงการหนองหวาย (จังหวัดขอนแก่น) และโครงการน้ำอูน (จังหวัดสกลนคร)

ผลการประเมินประสิทธิภาพของการผลิต และต้นทุนในการผลิต ลำดับที่ โครงการชลประทาน ผลผลิต กก./ไร่ ต้นทุนในการผลิต กก./ไร่ สมบูรณ์แบบ กึ่งสมบูรณ์แบบ นอกเขตโครงการ 1 เจ้าพระยาใหญ่ นาปี 781.20 708.03 634.72 - 1,189.26 809.67 นาปรัง 817.42 770.65 645.10 1,260.16 659.20 2 แม่กลองใหญ่ 472.68 435.03 524.59 513.38 3 พิษณุโลก 732.92 628.14 567.65 920.87 819.65 765.34 803.44 650.43 579.76 1,098.40 942.52 804.73 4 หนองหวาย 636.28 564.20 484.17 1,054.48 801.14 577.98 703.78 ไม่มีการผลิต 504.91 5 น้ำอูน 301 336 285 ปลูกข้าวเหนียว,ในฤดูแล้งปลูกพืชไร่

แผนการดำเนินงานจัดรูปที่ดิน พื้นที่คาดว่าจะดำเนินการได้ทั้งหมด = 4.456 ล้านไร่ ดำเนินการแล้ว = 1.856 ล้านไร่ คงเหลือ = 2.6 ล้านไร่ ราษฎรร้องขอและดำเนินการบางส่วนแล้ว = 165,800 ไร่ ราษฎรร้องขอและยังไม่ได้ดำเนินการ = 293,800 ไร่ ได้วางแผนส่วนที่ร้องขอไว้ 5 ปี (ปี 2550 – 2556) = 459,600 ไร่ ส่วนที่เหลือจะวางแผนดำเนินการต่อไปอีก = 2,140,400 ไร่

ระยะเวลาการดำเนินงานจัดรูปที่ดิน

ระบบแพร่กระจายน้ำในแปลงนา พื้นที่ชลประทานขนาดใหญ่ + กลาง 24 ล้านไร่ คันและคูน้ำที่ได้ดำเนินการแล้ว 10.56 ล้านไร่ จัดรูปที่ดิน 1.856 ล้านไร่ รวมประมาณ 12.4 ล้านไร่ เหลือพื้นที่ต้องดำเนินการ 11.6 ล้านไร่ มีศักยภาพในการดำเนินงาน 6.5 ล้านไร่

ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข เ ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข 1. ขาดการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ 1. จัดทำแผนระยะเร่งด่วน ปานกลาง ระยะยาว 2. ขาดการประชาสัมพันธ์ 2. ประชาสัมพันธ์เชิงรุก 3. ขั้นตอนการดำเนินการตาม พรบ. ใช้เวลานาน 3. ปรับปรุงพัฒนากฎหมายให้ลด เกษตรกรเปลี่ยนใจ ขั้นตอนการดำเนินการ

ชาวต่างชาติเข้ามาครอบครองพื้นที่ทำการเกษตร

จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ