การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
From Change to Forward.
Advertisements

สถานที่ตั้ง : อาคาร 8 (อาคารราชประชาสมาสัย) ชั้น 1
อาเซียน - จีน โอกาสประเทศไทย. EXPORT TO CHINA EXPORT TO CHINA : Compared to ASEAN.
A Case Study MU for ASEAN Prof. dr. Supa Pengpid Director: AIHD.
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
Thai youth in Agriculture Sector Situation: The average age of farmers in Thailand who is also living in agriculture increased. Agricultural sector is.
ส่วนนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
(บรรยายตามงานงวดที่ 5)
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
วันชัย รุจนวงศ์ อธิบดีอัยการสำนักงานต่างประเทศ สำนักงานอัยการสูงสุด
หลักสิทธิมนุษยชนกับการดำเนินคดีที่เป็นธรรม
กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Law
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
Chapter 2 Subjects of International Law
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ดำรงตำแหน่ง : 18 ธ.ค. 59 อายุ : 59 ปี การศึกษา :
@ North South Initiative
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
มองชุมชนไทยผ่านกรอบ Amartya Sen
GATT & WTO.
Globalization and the Law
บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ
ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒ สำนักงาน ป.ป.ส.
Mission of OSTC Brussels
การประชุมจัดทำ Roadmap กระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
กฎหมายอาญา(Crime Law)
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
หลักการสัมมนา ความหมาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบของการสัมมนา.
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
หลักการ แนวคิด เทคนิค และวิธีการ มีส่วนร่วมของประชาชน
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 33
โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
สวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลของข้าราชการ
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 ตุลาคม 2558.
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวออกจาก ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนกลับไปกระทำผิดอีก และศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่ากระทำผิดในคดีใหม่ นับตั้งแต่วันที่ปล่อยตัว เด็กและเยาวชนสามารถกลับไปดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข และไม่กลับมากระทำผิดซ้ำ การวิจัย ปัจจัยลดกระทำผิดซ้ำ กลุ่มเยาวชน TIJ Youth Forum on Justice and the Rule of Law The Choice เกมทางเลือก – ทางรอด กลุ่มนักวิชาการ UN-PNI Network Harvard IGLP Regional Workshop กลุ่มนักปฏิบัติการ ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice (ACCPCJ) กลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ - TIJ Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law Policy, in collaboration with Harvard Law School สถิติกระทำผิดซ้ำ IRC ปี 2559 ปี 2560 - เรียนหนังสือ/ทำงาน - ที่อยู่เป็นหลักแหล่งปลอดภัย - เรียนหนังสือ/ทำงาน - ที่อยู่เป็นหลักแหล่งปลอดภัย - สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัวชุมชน

การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ เด็กและเยาวชนที่.. > พ้นจากการฝึกอบรม > พ้นจากการคุมประพฤติ > พ้นจากเรือนจำ ระยะเวลาติดตาม 12 เดือน 24 เดือน 36 เดือน > ถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) > ถูกพิพากษาว่ากระทำผิดในคดีใหม่ซ้ำ (Re-Convict) > ถูกส่งตัวซ้ำ (Re-Committed) ไปคุมประพฤติ หรือ ฝึกอบรมหรือถูกส่งตัวไปเรือนจำอีกครั้ง แล้วกลับมา..

กระบวนการตรวจสอบการถูกจับกุมซ้ำ นำข้อมูลเด็กและเยาวชน ที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกฯทั่วประเทศ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และจัดทำไฟล์ตามแบบฟอร์มของกองทะเบียนประวัติอาชญากร (ทว.) ส่ง ID ของเด็กและเยาวชน ไปยัง ทว. โดยผ่านระบบของ กรมคุมประพฤติ ทว. ตรวจสอบข้อมูล และผลส่งข้อมูลมายัง กรมพินิจฯ ผ่านทางกรมคุมประพฤติ โดยเป็น PFD ไฟล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา คีย์ข้อมูลลงในโปรแกรมคำนวณ และวิเคราะห์ผลการถูกจับซ้ำ โดยใช้สถิติบรรยาย เป็นจำนวนและร้อยละ นำเสนอ ผลการตรวจสอบ การถูกจับซ้ำ กระบวนการตรวจสอบการถูกจับกุมซ้ำ

เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน 18 แห่ง ระหว่าง 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน 2558 คิดเป็น 35.24 % หลังปล่อยตัว 1 ปี พบประวัติการถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) จำนวน 1,383 คน เด็กและเยาวชน ที่ส่งตรวจสอบประวัติ จำนวน 3,924 คน

เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน 18 แห่ง เดือนตุลาคม 2558 – มกราคม 2559 คิดเป็น 25 % หลังปล่อยตัว 1 ปี พบประวัติการถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) จำนวน 370 คน เด็กและเยาวชน ที่ส่งตรวจสอบประวัติ จำนวน 1,480 คน

วัตถุประสงค์ การพัฒนาระบบการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนเฉพาะราย แบบไร้รอยต่อ กับการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนตามข้อกำหนดของ IRC 1 2 ใช้การควบคุมตัวเป็นมาตรการสุดท้ายและใช้เวลาให้สั้นที่สุดและคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดสำหรับเด็กและเยาวชน พัฒนาแนวทางเลือกอื่นในการปฏิบัติต่อเด็กแทนการควบคุมตัว ใช้ชุมชนและสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการให้การบำบัดแก้ไขฟื้นฟู และการรับเด็กและเยาวชนกลับคืนสู่สังคม ให้แนวทางและวิธีการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจำเป็นของเด็กและเยาวชน แต่ละราย 3 จัดระบบการติดตามช่วยเหลือดูแลเด็กและเยาวชนแลครอบครัวอย่างเป็นระบบ ภายหลังการคืนกลับสู่ชุมชน โดยประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อลดความเสี่ยงต่อการมีปัญหาพฤติกรรมและการกระทำผิดอย่างยั่งยืน

การเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำงานกับเยาวชน ก่อนเข้า ระหว่างอยู่ หลังออก แผนภาพดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า จุดเริ่มต้นการทำงานกับเยาวชนไม่ใช่เริ่มจากที่เยาวชนอยู่ในศูนย์ฝึกฯ แต่ต้องเริ่มต้นตั้งแต่เยาวชนยังไม่ได้เข้าศูนย์ฝึก เช่นเดียวกันจุดสิ้นสุดของการทำงานกับเยาวชนก็ไม่ได้หยุด แค่จบจากศูนย์ฝึกฯ ไปแล้ว สิ่งที่เหมาะสมคือการดูแลเยาวชนภายหลังจากออกจาก ศูนย์ฝึกฯ ไปแล้วด้วย

โดยดำเนินการตามแผนทั้ง 5 ด้านคือ ผู้ปฏิบัติหน้าที่ IRC ใช้เทคนิคและวิธีการที่จะสร้างแรงจูงใจให้เด็กหรือเยาวชนและครอบครัวมีทิศทางและเป้าหมายในการวางแผนชีวิต สนับสนุนการใช้ชีวิตของเด็กหรือเยาวชน และป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ และการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โดยดำเนินการตามแผนทั้ง 5 ด้านคือ 5. การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. มีการคบเพื่อนที่ดี 3. มีที่อยู่อาศัยเป็นหลักแหล่งและปลอดภัย 2. มีสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว/ชุมชน 1. เรียนหนังสือ / มีงานทำ

เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการฯ IRC ของศูนย์ฝึกฯ เขต 1 ทั้งหมด 75 คน ได้รับการปล่อยตัว จำนวน 75 คน ผลการติดตามอธิบายโดยแผนภูมิ ดังนี้ ทหารและเรียน พระ กระทำผิดซ้ำ เรียน 1 1

ข้อมูลการกระทำผิดซ้ำภายหลังติดตามหลังปล่อยตัว สรุป: - เยาวชน 75 ราย กระทำผิดซ้ำภายหลังการปล่อยตัวภายใน 12 เดือน จำนวน 1 ราย คิดเป็น 1.33% - ไม่มีเยาวชนกระทำผิดซ้ำเพิ่มภายหลังการปล่อยตัวภายใน 24 เดือน

แผนภูมิแสดงจำนวนเยาวชน ที่ครบกำหนดติดตาม 24 เดือน มีจำนวน 70 รายละเอียดดังนี้ กระทำผิดซ้ำ ทหารและเรียน อุปสมบทพระ ทหาร เรียนและทำงาน เรียน ทำงาน

ผลการติดตามปัจจัยลดการกระทำผิดซ้ำ ปี2557- 2559

ตารางแสดงข้อมูลการติดตามเด็กและเยาวชน   ปีงบประมาณ พ.ศ. การติดตาม สถานะ การดำเนินชีวิตในสังคม ปล่อยตัว ติดตามได้ ติดตาม ไม่ได้ มีงานทำ /ศึกษาต่อ ว่างงาน อื่นๆ เรียนหนังสือ/ ทำงาน มีที่อยู่ เป็นหลักแหล่ง ปลอดภัย มีสัมพันธภาพ ที่ดีกับ ครอบครัวชุมชน คบเพื่อน ที่ดี ใช้เวลาว่าง เป็นประโยชน์ 2557 4511 3977 534 2955 128 126 118 - 2558 5844 3911 1933 3367 144 77 2559 3265 3021 244 2839 74 105 2917 66 1 15

แนวทางการปฎิรูปการจัดการศึกษาและฝึกอาชีพ สำหรับเด็กและเยาวชนในสถานควบคุม

พัฒนาหลักสูตร หลักสูตร พัฒนาขึ้นใหม่  หลักสูตร กศน. รวม หลักสูตรบำบัดแก้ไขฟื้นฟู 2 - หลักสูตรวิชาชีพต่าง - 1. ช่างไฟฟ้า 4 - 2. ช่างเชื่อมโลหะ - 3. คหกรรม/เสริมสวย 19 23 - 4. เกษตรกรรม 6 12 18 - 5. ช่างยนต์ 5 3 8 - 6. ดนตรี - 7. คอมพิวเตอร์ 1 - 8.ช่างไม้-ก่อสร้าง - 9. ช่างศิลป์ 15 43 37 80 พัฒนาหลักสูตร

เด็กและเยาวชนที่สามารถติดตามได้หลังปล่อย จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่ปล่อยตัวและติดตามได้ หมายถึง เด็กและเยาวชนที่ปล่อยตัวจากศูนย์ฝึกฯ และใช้วิธีการติดตาม ทางจดหมาย โทรศัพท์ ไปเยี่ยมบ้าน หรือติดตามผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ อื่นๆ ซึ่งจากการติดตามทำให้ทราบว่าเด็กและเยาวชนดำเนินชีวิตอย่างไรเพื่อเป็นข้อมูลในการให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือตามความจำเป็นการติดตามหลังปล่อยให้ติดตามปีละ 3 ครั้ง คือ หลังปล่อย 3 เดือน6 เดือนและ 1 ปี

จบการนำเสนอ