งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

2 แนวคิดเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญา
Crime Control Model ถ้าปล่อยให้มีการกระทำความผิด/ผู้กระทำความผิดไม่ถูกลงโทษ สังคมจะเกิดความไม่สงบสุข เพื่อระงับ ปราบปรามอาชญากรรม ต้องยอมให้ จนท รัฐ ละเมิดสิทธิเสรีภาพ ได้บ้าง Due Process Model กระบวนการนำตัวผู้กระผิดมาลงโทษ ต้องเป็นไปตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดไว้ การกระทำที่ละเมิดต่อกฎหมายย่อมได้รับการปฏิเสธ

3 ใครเป็นผู้มีอำนาจดำเนินคดีอาญา(หลักการดำเนินคดีอาญา)
Private Prosecution ผู้เสียหายสามารถดำเนินคดีอาญาได้ มาจากแนวคิดแก้แค้นทดแทน ถ้าผู้เสียหายไม่ดำเนินคดี ผู้กระทำผิดก็ไม่ถูกลงโทษ Popular Prosecution ประชาชนทุกในสังคมมีสิทธิดำเนินคดีอาญาได้ แม้ไม่ใช่ผู้ถูกกระทำ, การกระทำความผิดเป็นการกระทำต่อคนทุกคนในสังคม คนที่ไม่ทราบข้อเท็จจริง อาจทำให้เสียเวลาโดยใช่เหตุ Public Prosecution ความสงบสุขเป็นเรื่องของรัฐ รัฐจึงเป็นผู้เสียหาย ถ้ารัฐไม่ดำเนินคดี คนอื่นก็ดำเนินการไม่ได้

4 ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญาที่สำคัญ
ผู้มีสิทธิดำเนินคดี เอกชน รัฐ การรวบรวมข้อเท็จจริง เพื่อเป็นหลักประกันว่าบุคคลใดถูกดำเนินคดีเมื่อมีหลักฐาน เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่คู่กรณี อำนาจรัฐในลงโทษผู้กระทำผิด หลักนิติรัฐ ป.อ. ม. 2 ป.วิ.อ. ม.39 (4)

5 ผู้เสียหาย ผู้เสียหาย มีการกระทำความผิดอาญา
เป็นผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำความผิดนั้น ไม่มีส่วนในการกระทำความผิด(ผู้เสียหายโดยนิตินัย)

6 ใครเป็นผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำความผิดนั้น
หลักเกณฑ์ของ อ.คณิต หาคุณธรรมทางกฎหมาย หลักเกณฑ์ของศาล พิจาณาประเภทของกฎหมาย+ จำคำพิพากษาของศาล

7 พิจารณาประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่คุ้มครองเอกชน ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพย์สิน อำนาจปกครอง เอกชนเป็นผู้เสียหาย /รัฐเป็นผู้เสียหายได้ ถ้าเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน กฎหมายที่คุ้มครองรัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ ความมั่นคง การปกครอง กระบวนการยุติธรรม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน ตำแหน่งหน้าที่ราชการต่างๆ รัฐเป็นผู้เสียหาย /เอกชนเป็นผู้เสียหาย ถ้าได้รับความเสียหายเป็นพิเศษ กฎหมายที่คุ้มครองประโยชน์สาธารณะ ทางการปกครอง การควบคุมกำกับ พ.ร.บ. ต่างๆ รัฐเป็นผู้เสียหายได้เท่านั้น

8 ไม่มีส่วนในการกระทำความผิด(ผู้เสียหายโดยนิตินัย)
ไม่เป็นผู้มีส่วนในการกระทำความผิด ไม่เป็นผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน ไม่มีส่วนรู้เห็นการกระทำความผิด

9 ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับผู้เสียหายโดยนิตินัย
คำพิพากษาฎีกาที่ 1604/2508 โจทก์จำเลยต่างขับรถโดยประมาท เป็นเหตุให้รถชนกันและโจทก์ ได้รับ บาดเจ็บนั้น เมื่อโจทก์เป็นผู้กระทำการโดยประมาท โจทก์จึงมีส่วนในการกระทำผิดทางอาญาด้วย โดยนิติ นัยถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา2(4) คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 845/2481,643/2486 กู้ทำสัญญายอมเสียดอกเบี้ยแก่ผู้ให้กู้เกินอัตราในกฎหมาย โดยสมัครใจผู้กู้ไม่เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษผู้ให้กู้ตามพระราชบัญญัติห้ามเรียก ดอกเบี้ยเกินอัตราฯ คำพิพากษาศาลฎีกาที่577/2496, /2497 ผู้สมัครใจเข้าวิวาททำร้ายกันจะมาฟ้องคู่วิวาทฐานทำ ร้ายร่างกายไม่ได้ เพราะไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย

10 คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1083/2510 ผู้ตายกับจำเลยสมัครใจชกมวยพนันเอาเงินกันโดยไม่ได้รับอนุญาต จะถือว่า ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียหายตามกฎหมายไม่ได้ บิดาของผู้ตายย่อม ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้ตาย คำพิพากษาศาลฎีกาที่955/2502 หญิงยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูก ถือว่าหญิงนั้นมีส่วนร่วมในการกระทำผิดด้วย จึงมิใช่ผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(4) แม้หญิงนั้นจะถึงแก่ความตาย บิดา ของหญิงนั้นก็ไม่มีสิทธิที่จะฟ้องผู้ทำให้หญิงแท้ลูกได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 481/2524 ผู้เสียหายใช้ให้จำเลยนำเงินไปซื้อสลากกินรวบอันเป็นความผิด จึงไม่ใช่ ผู้เสียหายโดยนิตินัยที่จะมีสิทธิร้องทุกข์ในความผิดฐานฉ้อโกงได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ /2523 จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายว่า จำเลยสามารถนำบุตรชายผู้เสียหายเข้า โรงเรียน นายสิบทหารบกได้โดยสอบคัดเลือกพอเป็นพิธีเท่านั้น และเรียกเงินเพื่อนำไปให้คณะกรรมการเพื่อช่วยบุตร ผู้เสียหายให้เข้าเรียนได้ ผู้เสียหายหลงเชื่อมอบเงินให้จำเลยไป ถือว่าผู้เสียหายได้ร่วมกับ จำเลยนำสินบนไปให้เจ้า พนักงาน ผู้เสียหายจึงมิใช่ผู้เสียหายตามกฎหมาย

11 ตั้งแต่หน้า 11 นำมาจาก Facebook: Absolute LAW

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27 END


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google