งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล
อาจารย์ กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

2

3

4 วัตถุประสงค์และมาตรฐาน Objectives and Standards
วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการ: กำหนดที่ตั้งและช่วยเหลือเหยื่อ กำหนดที่ตั้งและจับกุมผู้ต้องสงสัย กำหนดที่ตั้งและเก็บรักษาหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานทางปฏิบัติการ: ให้แน่ใจว่าเหยื่อปลอดภัยและทราบสิทธิ ผู้ต้องสงสัยและสมาชิกชุดปฏิบัติการ ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด M5-S10

5 แผน P.E.A.C.E P – วางแผนและเตรียมการ (Planning & Preparation) E – ดำเนินการ (Entry & Execution) A – จับกุม (Arrest) C – ควบคุมสถานที่เกิดเหตุ (Crime Scene) E – หลักฐาน (Evidence) M5-S11

6 P – วางแผนและเตรียมการ Plan and Prepare
มีหลักฐานพอเพียงในการใช้อำนาจทางกฎหมายหรือไม่ มีอำนาจหน้าที่ทางกฎหมายหรือหมายจับหรือไม่ ได้รับการยืนยันตำแหน่งที่ตั้งที่แน่นอนหรือไม่ แจกแจง ประเมิน และจัดการความเสี่ยง ให้แน่ใจว่ามีเจ้าหน้าที่และที่ปรึกษาพอเพียง การแบ่งชุดเจ้าหน้าที่และภารกิจ จัดให้มีการสรุปที่ชัดเจน - ข้อมูล วัตถุประสงค์และหน้าที่เฉพาะ M5-S12

7 E – ดำเนินการ Execute ให้แน่ใจว่าการเข้าไปยังสถานที่นั้นรวดเร็วและปลอดภัย ให้แน่ใจว่ามีการวางแนวรักษาความปลอดภัย ให้แน่ใจว่าทุกคนในที่นั้นปลอดภัย หาแหล่งที่ตั้งและให้ความมั่นใจกับเหยื่อ - เตรียมรับความตื่นตระหนก หาแหล่งที่ตั้งและจับกุมผู้ต้องสงสัย แยกเหยื่อออกจากผู้ต้องสงสัย ป้องกันการข่มขู่ทางสายตาและวาจา ย้ายเหยื่อไปยังสถานที่ปลอดภัย M5-S13

8 A –จับกุม Arrest ให้แน่ใจว่าผู้ต้องสงสัยมีความปลอดภัย – ป้องกันการหลบหนี ปฏิบัติอย่างถูกต้อง - สังเกตสิทธิ์ แนะนำตนเอง แจ้งให้ผู้ต้องสงสัยทราบถึง: ข้อเท็จจริงของการจับกุม การทำผิดกฎหมาย อำนาจในการจับกุม สรุปข้อหาในการจับกุมโดยสังเขป M5-S14

9 C – สถานที่เกิดเหตุ Crime Scene
ควบคุมแนวป้องกันและสถานที่เกิดเหตุ เข้าและออกได้เฉพาะผู้มีหน้าที่เท่านั้น ชะลอ – ทำงานร่วมกันเป็นทีม อย่างมีขั้นมีตอน ก่อนการตรวจค้น ถ่ายวีดีโอ/ภาพสถานที่เกิดเหตุและแผนผังคร่าวๆ ให้เสร็จสมบูรณ์ หลังการตรวจค้น – แจ้งผู้ต้องสงสัยถึง: หลักฐานในการตรวจค้น อำนาจทางกฎหมาย แสดงหมายค้น อธิบายสิทธิ์-อนุญาตให้อยู่ด้วย M5-S15

10 E – หลักฐาน Evidence ตรวจค้นอย่างถี่ถ้วนและเป็นไปตามขั้นตอน
ตรวจยึดหลักฐานที่เกี่ยวข้องทุกชิ้น หากมีข้อสงสัย – ให้ยึดไว้ก่อน การตรวจยึดแต่ละชิ้น ให้บันทึกข้อมูลดังนี้: วันที่/เวลา และสถานที่ชัดเจนซึ่งทำการยึด รูปพรรณโดยละเอียดของแต่ละชิ้น รายละเอียดของการตรวจยึด การเก็บ และเจ้าหน้าที่ผู้บันทึกข้อมูล M5-S16

11 ภารกิจหลังปฏิบัติการ Post Operation Tasks
ย้ายเหยื่อไปยังสถานที่ปลอดภัยซึ่งเหมาะสม กักตัวผู้ต้องสงสัยไว้เพื่อความปลอดภัย ป้องกันไม่ให้มีการสื่อสารระหว่างกัน ตรวจยึดและเก็บรักษาหลักฐานไว้อย่างปลอดภัย ทันทีที่ทำได้ แจ้งให้คณะผู้เชี่ยวชาญพิเศษทราบและทำตามคำแนะนำของพวกเขา M5-S17

12 การตรวจค้น หัวหน้าในการตรวจค้นคือ ผู้มีชื่อในหมายค้น
แต่งเครื่องแบบ เว้นกรณีจำเป็นเร่งด่วน แต่ต้องแสดงตัวให้ชัดเจน แสดงความบริสุทธิ์ใจ ค้นต่อหน้าผู้ต้องหา หรือ จำเลย หรือพยาน ซึ่งเป็นบุคคลในครอบครัว หรือ พยานอื่นอย่างน้อยสองคน ชี้แจงให้ผู้ครอบครองสถานที่ทราบว่ามีหน้าที่ให้ความสะดวก หากไม่ยินยอม ให้ใช้กำลังเท่าที่จำเป็น หลีกเลี่ยงความเสียหาย

13 7. ของที่ค้นได้ ให้ผู้เกี่ยวข้องดู รับรอง และบันทึกไว้ ดำเนินการตามหลัก Chain of Custody 8. ทำบันทึกการตรวจค้น อ่านให้ผู้ต้องหา หรือ ผู้เกี่ยวข้องฟัง ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน

14

15 การจับ = โดยไม่มีหมาย “คุณถูกจับแล้วในข้อหา คุณมีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ ถ้าคุณให้การ ถ้อยคํานั้นอาจใช้เป็นยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ และคุณมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนาย หรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความได้” = โดยมีหมายจับ “คุณถูกจับตามหมายจับของศาล ที่ /๒๕ ลงวันที่ ในข้อหา คุณมีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ ถ้าคุณให้การ ถ้อยคํานั้นอาจใช้เป็นยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ และคุณมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนาย หรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความได้”

16 หากขัดขืน จะหลบหนี ใช้วิธีการเท่าที่เหมาะสมและจำเป็น
ส่งตัวไปยังที่ทำการพนักงานสอบสวนในท้องที่ พร้อมผู้จับ จัดทำบันทึกการจับกุม แจ้งสิทธิ มอบสำเนาบันทึกจับกุมให้ผู้ถูกจับ

17

18 การควบคุม บันทึกไว้ในรายงานประจำวันเกี่ยวกับคดี
“ (ยศ ชื่อ สกุล ตําแหน่ง) เจ้าพนักงานตํารวจผู้รับตัว นาย/นาง/น.ส ผู้ถูกจับหรือผู้ต้อหาไว้ควบคุมได้แจ้งสิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาตามกฎหมายให้ทราบแล้ว ดังนี้ แจ้งญาติทราบ พบทนายเป็นการเฉพาะตัว ให้ทนายเข้าฟังการสอบสวนปากคำตน ได้รับการเยี่ยมเยียน ติดต่อญาต ได้รับการรักษาพยาบาล ได้รับทราบแล้ว ลงชื่อไว้ ทั้งผู้ถูกจับ และ รับมอบตัว

19 การปล่อยตัวชั่วคราว การสั่งไม่ปล่อยชั่วคราว จะกระทําได้ต่อเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดดังนี้ (๑) ผู้ต้องหาจะหลบหนี (๒) ผู้ต้องหาจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน (๓) ผู้ต้องหาจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น (๔) ผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันไม่น่าเชื่อถือ (๕) การปล่อยชั่วคราวจะเป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อการสอบสวนของเจ้าพนักงาน


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google