งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ
เป็นสะพานเชื่อมองค์ความรู้จาก นานาชาติและสหประชาชาติ ในการช่วย ยกระดับการทำงานของไทยและประเทศใน ภูมิภาคให้ได้มาตรฐานสากล เสริมพลังสร้าง Soft Power ให้กับ ประเทศไทยผ่านกระบวนการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้วยการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ Technical Assistance แก่ประเทศเพื่อน บ้านในภูมิภาค ส่งเสริมบทบาทประเทศไทยใน เวทีโลก

3 1 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560
บทบาท TIJ ในฐานะ Active Member ของ UN-PNI เจ้าภาพการจัดประชุม UN-PNI Coordination Meeting เป็นครั้งแรกในภูมิภาค สร้างบทบาทนำในภูมิภาคอาเซียนด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา การผลักดันนโยบายด้านยาเสพติดของประเทศไทย ความร่วมมือกับ UNODC และประเทศเพื่อนบ้าน ในการต่อต้านการค้ามนุษย์ เจ้าภาพการจัดประชุม UN-PNI Coordination Meeting เป็นครั้งแรกในภูมิภาค เตรียมการจัดประชุม United Nations Congress on Crime Prevention and Criminal Justice 2020

4 2 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560 บทบาท TIJ ในภูมิภาคอาเซียน
สร้าง Platform ด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice: ACCPCJ) เป็นครั้งแรกในภูมิภาค ทำงานวิจัยที่สอดคล้องกับความสนใจของภูมิภาคอาเซียน งานวิจัยเรื่อง การรับมือภัยคุกคามและสิ่งท้าทายที่เกิดขึ้นใหม่จากอาชญากรรมข้ามชาติที่กระทำ ในลักษณะองค์กรจากมุมมองของประเทศไทยภายใต้บริบทประชาคมอาเซียน งานวิจัยเรื่อง Scoping Study Women’s Access to Justice: ASEAN Perspective งานวิจัยเรื่อง Women’s Access to Justice: Asia in the Post 2015 Context งานวิจัยเรื่อง ที่มาและภูมิหลังผู้กระทำผิดหญิงและการอนุวัติข้อกำหนดกรุงเทพในประเทศอาเซียน

5 3 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560
ยกระดับคุณภาพงานวิจัยและเชื่อมโยงองค์ความรู้ของ UN สู่ภูมิภาค เป็น “นักบริหารจัดการงานวิจัย" ร่วมกับสถาบันวิชาการ และสถาบันการศึกษาชั้นนำของโลก มุ่งเน้นการทำ Action Research เป็นสะพานเชื่อมมาตรฐานระหว่างประเทศไปสู่การปฏิบัติ งานวิจัยเรื่อง การรับมือภัยคุกคามและสิ่งท้าทายที่เกิดขึ้นใหม่จากอาชญากรรมข้ามชาติที่กระทำ ในลักษณะองค์กรจากมุมมองของประเทศไทยภายใต้บริบทประชาคมอาเซียน งานวิจัยเรื่อง Scoping Study Women’s Access to Justice: ASEAN Perspective งานวิจัยเรื่อง Women’s Access to Justice: Asia in the Post 2015 Context งานวิจัยเรื่อง ที่มาและภูมิหลังผู้กระทำผิดหญิงและการอนุวัติข้อกำหนดกรุงเทพในประเทศอาเซียน

6 4 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560
สนับสนุนการทำงานของประเทศไทยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) ข้อ 16 ด้านหลักนิติธรรม เตรียมการจัดประชุม United Nations Congress on Crime Prevention and Criminal Justice 2020 ซึ่งเน้น SDGs และ Culture of Lawfulness สร้างเครื่องมือและองค์ความรู้สำหรับวัดและประเมินหลักนิติธรรม (Rule of Law Index & CJPI) จัดตั้งทีมงานสถิติข้อมูล (Statistics Unit) การพัฒนากรอบแนวคิดและกรอบยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาดัชนีชี้วัดด้านหลักนิติธรรมในประเทศไทย (TDRI) การพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรม ทางอาญา ( ICCLR / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) การสำรวจความคิดเห็นประชาชน (TIJ poll) การจัดตั้งทีมงานสถิติข้อมูล (Statistics) เพื่อรองรับงานวิจัยเชิงปริมาณ

7 5 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560
สร้างองค์ความรู้สำหรับประเทศไทยในการปฏิบัติต่อเด็กในกระบวนการยุติธรรมตามมาตรฐานสหประชาชาติ สร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อผลักดันให้เกิดการอนุวัติยุทธศาสตร์ต้นแบบฯ ว่าด้วยการต่อต้านความรุนแรงต่อเด็ก (Model Strategies on Elimination of Violence Against Children: VAC) จัดทำ Country Report สำหรับประเทศไทยตาม VAC - สร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อผลักดันให้เกิดการอนุวัติยุทธศาสตร์ต้นแบบฯ ว่าด้วยการต่อต้านความรุนแรงต่อเด็ก (Model Strategies on Elimination of Violence Against Children: VAC)

8 6 ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560 กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มเยาวชน
การสร้างแนวร่วมในสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพกระบวนการยุติธรรมไทย และสร้าง วัฒนธรรมการเคารพกติกา (Culture of Lawfulness) ผ่านการ “สร้างเครือข่ายความร่วมมือ” ระหว่าง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มเยาวชน กลุ่มเยาวชน TIJ Youth Forum on Justice and the Rule of Law The Choice เกมทางเลือก – ทางรอด กลุ่มนักวิชาการ UN-PNI Network Harvard IGLP Regional Workshop กลุ่มนักปฏิบัติการ ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice (ACCPCJ) กลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ - TIJ Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law Policy, in collaboration with Harvard Law School กลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ กลุ่มนักปฏิบัติการ

9 การร่างพระราชบัญญัติสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ....
ทิศทางการทำงานในปีงบประมาณ 2560 7 ยกระดับองค์กรและปรับระบบงานภายในให้สอดคล้องกับ การทำงานในระดับสากล การร่างพระราชบัญญัติสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.... การปรับโครงสร้างองค์กรและอัตรากำลัง (HR Strategy) การจัดทำยุทธศาสตร์การสื่อสารองค์กร (Communication Strategy)

10 Flagship Projects ในปีงบประมาณ 2560
พ.ย.59 ธ.ค. 59 ม.ค. 60 พ.ค. 60 ส.ค. 60 ก.ย. 60 การเข้าร่วมประชุม Friends of Crime Congress, ประเทศญี่ปุ่น การจัดประชุม PNI Coordination Meeting, ประเทศไทย การอบรมหลักสูตร Bangkok Rules Training Program, ประเทศไทย โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเพื่อส่งเสริมหลักนิติธรรมต่อกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ระดับนานาชาติ, ประเทศไทย The IGLP Regional Workshop TIJ Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law and Policy การจัดประชุม ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice (ACCPCJ), ประเทศไทย การจัดประชุม Statistics Forum with KIC, ประเทศเกาหลีใต้ การจัดประชุม Youth Forum, ประเทศไทย การร่วมประชุมและนำเสนอผลงานวิชาการในการประฃุม CCPCJ ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สนับสนุนพระภารกิจของพระเจ้าหลานเธอฯ ในฐานะ Goodwill Ambassador ของ UNODC

11 Investing in the Rule of Law
for Better Future

12


ดาวน์โหลด ppt บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google