มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน & การเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน & การเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐาน สุรางค์ ชูสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

วิธีการประเมิน มฐ.เดิม วิธีการประเมินมฐ.ใหม่ 1.ประเมินแบบองค์รวม โดยกำหนดประเด็น การพิจารณามาให้ การประเมินในแต่ละ มาตรฐานให้พิจารณา โดยรวม และตัดสินให้ ระดับคุณภาพเป็น ดีเยี่ยม ดี พอใช้ หรือปรับปรุง 1.ประเมินจำแนกเป็น รายตัวบ่งชี้ และนำมารวม เป็นรายมาตรฐานการศึกษา เทียบกับเกณฑ์ ตัดสินเป็น ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้หรือปรับปรุง 2.ในแต่ละตัวบ่งชี้จะมีน้ำหนัก ในการให้คะแนน ซึ่งไม่เท่ากัน มากน้อยตามตัวบ่งชี้ที่มี ความสำคัญ

มฐ7 ครูปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่ฯ 12 100 1.00 5 ดีเยี่ยม จน.ครู ระดับดี ขี้นไป ทั้ง หมด ร้อยละ ที่ได้ ค่าน้ำหนัก 10.00 คะแนน 8.98 เทียบ ระดับ คุณภาพ 4 ความ หมาย ดีมาก 7.1.เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน 12 100 1.00 5 ดีเยี่ยม 7.2.วิเคราะห์ผู้เรียน 11 91.67 0.91 7.3.ออกแบบการเรียนรู้ 10 83.33 2.00 1.67 7.4.ใช้สื่อ เทคโนโลยี 7.5.มีการวัดประเมินผล 0.83 7.6.แนะนำ ให้คำปรึกษา 7.7.วิจัย ปรับการสอน 7.8.เป็นแบบอย่างที่ดี 7.9. เต็มเวลา/สามารถ

มฐ. 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

มฐ. 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มฐ. 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็นการพิจารณา 1.สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 2.การสอนที่ยึดโยงกับบริบทชุมชน 3.ตรวจสอบประเมินความรู้ผู้เรียน

ระดับ 4 ดีเยี่ยม การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาส ระดับ 4 ดีเยี่ยม การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาส ให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม 1.1. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง กำหนดเนื้อหา สาระ กิจกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดเป็น รายบุคคลอย่างเป็นรูปธรรมทั้งระบบ 1.2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุป องค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆได้เป็นอย่างดี

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 1.3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ แสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็น คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง 1.4. ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยเชื่อมโยงบูรณาการสาระการเรียนรู้และ ทักษะด้านต่าง ๆ 1.5. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 1.6. ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชน ระดับ 4 ดีเยี่ยม 2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชน และท้องถิ่น 2.1. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอน 2.2. ชุมชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหรือ ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 3. การตรวจสอบและประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน ระดับ 4 ดีเยี่ยม 3. การตรวจสอบและประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 3.1. ประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง 3.2. มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินอย่างเป็นระบบ 3.3. ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม กับเป้าหมายการจัดการเรียนการสอน 3.4. นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดประเมินผล 3.5. ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐานการศึกษาที่ 3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐานการศึกษาที่ 3

มฐ. 3 1.สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 2.การสอนที่ยึดโยงกับบริบทชุมชน วิเคราะห์ตนเอง กระบวนการคิด ฝึกทักษะการแสดงออก เชื่อมโยงบูรณาการสาระการเรียนรู้ เรียนรู้ผ่านการวิจัย จัดบรรยากาศ แหล่งเรียนรู้, ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนแสดงความคิดเห็น,สอน สภาพจริง ขั้นตอนประเมินเป็นระบบ สอดคล้องกับเป้าหมายการสอน 3.ตรวจสอบประเมินความรู้ผู้เรียน นร.,ผู้ปกครองร่วมวัดผล ข้อมูลย้อนกลับ

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.1.มีกระบวน การเรียนการสอน ที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม 1)วิเคราะห์ตนเอง กำหนดกิจกรรม ที่สอดคล้องกับ ความสนใจ เป็นรายบุคคล ข้อมูลนร.ที่ นร.มีส่วนร่วมใน การวิเคราะห์ตนเอง  กิจกรรมที่ สอดคล้องกับ ของนักเรียน  ครู - ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง อย่างไรบ้าง ? - สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมใดบ้าง ความสนใจ/ถนัด ของนักเรียน ?

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 2)ผู้เรียนมีส่วนร่วม เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้และ สามารถนำไปใช้ใน สถานการณ์ต่าง ๆได้ แผนการเรียนรู้ และบันทึกผล หลังสอนที่เกี่ยวกับ -กระบวนคิด การปฎิบัติจริง -การเชื่อมโยง บูรณาการและ ทักษะต่างๆ -เรียนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจัย

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3)จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะแสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็น คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและ แสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยี ด้วยตนเอง ผลงาน นักเรียนที่ได้ จากกิจกรรม -กระบวนการคิด การปฏิบัติจริง -การเชื่อม โยงบูรณาการ -การอ่านและแสวงหาความรู้จาก สื่อเทคโนโลยี -กระบวนการวิจัย  ครู - สถานศึกษาได้จัดกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียน รักการอ่านหรือส่งเสริมการอ่านอย่างไรบ้าง ?

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 4)เรียนรู้โดยเชื่อมโยง บูรณาการสาระการเรียนรู้และทักษะต่างๆ 5)ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวย ความสะดวกที่ เอื้อต่อการเรียนรู้  นักเรียน - นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ ในห้องเรียน หรือจัดทำ สื่อการเรียนรู้ อย่างไรบ้าง ? -สุ่มนักเรียน นำเสนอผลงาน ตนเอง  การจัด บรรยากาศใน ห้องเรียนและ บริเวณโรงเรียน  พฤติกรรม การใช้คำถาม ของครู  ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูกับ นักเรียน

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 6)ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ วิจัย การมอบหมาย ภาระงานของครู ความกระตือรื้อร้น ในการเรียนของนักเรียน เช่น ความสนใจ ในการร่วมกิจกรรม การใฝ่เรียนรู้

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.2.การจัดการเรียน การสอนที่ยึดโยงกับ บริบทของชุมชนและท้องถิ่น

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.2.การจัดการเรียน การสอนที่ยึดโยงกับ บริบทของชุมชนและท้องถิ่น  แผนการจัด การเรียนรู้ให้นักเรียนเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ / ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลการนักเรียน ที่ไปศึกษา เรียนรู้จาก แหล่งเรียนรู้ /  นักเรียน -นักเรียนได้ไป เรียนรู้จากชุมชน/ เรื่องใดบ้าง ? ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ที่ใดบ้าง ?

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.2.การจัดการเรียน การสอนที่ยึดโยงกับ บริบทของชุมชนและท้องถิ่น  ครู -กิจกรรมใดบ้างที่ชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็น หรือ ร่วมจัดกิจกรรม การเรียน การสอน ?

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.3.การตรวจสอบ และประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ

ผู้ประเมิน : แบบการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม มาตรฐานที่ 3 3.1.การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม  ตรวจสอบเอกสาร / หลักฐานตามสภาพจริง  ข้อมูลนักเรียนที่นักเรียนมีส่วนร่วมใน การวิเคราะห์ตนเอง …….....................................................................................................  แผนการเรียนรู้และบันทึกผลหลังสอน  แผนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติจริง...........................................................................................................

ผู้ปฏิบัติ : บัญชีงบหน้าแผนการเรียนรู้และบันทึกผลหลังสอน รายการที่นร. มีส่วนร่วม เนื้อหา / หน่วยการเรียนรู้ ชั้น ชื่อครูผู้สอน กระบวนการคิด การปฏิบัติจริง 1.ผังกราฟิกวิเคราะห์ความเหมือนความต่างของการตอนกับการทาบกิ่ง 2.โครงงานสำรวจ มุมต่างๆ รอบ ๆ บริเวณโรงเรียน ป.4 ป.2 ………….. ………………. เชื่อมโยงบูรณาการ

การตัดสินผลประเมินตามมฐ. 3 กรรมการประเมินทุกท่านสรุปผลร่วมกัน 1.สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 2.การสอนที่ยึดโยงกับบริบทชุมชน 3.ตรวจสอบประเมินความรู้ผู้เรียน

มฐ. 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา มฐ.2 1.การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน 2.การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 3.การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและการร่วมรับผิดชอบ ต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 4.การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 1. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่กำหนดไว้ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติและสอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชน ท้องถิ่นอย่างชัดเจน 2. สถานศึกษามีแผนและดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารและ การจัดการศึกษาที่มีความเหมาะสม ครอบคลุมประเด็นหลักต่อไปนี้ 2.1.พัฒนาวิชาการที่เน้นผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกคนและดำเนินการ อย่างเป็นรูปธรรม 2.2.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง

ระดับ 4 ดีเยี่ยม ( ต่อ ) 2.3.บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้และดำเนินการอย่างเป็นระบบ 2.4.จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ดีและกระตุ้นให้ผู้เรียน ใฝ่เรียนรู้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย 3.ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมือในการ ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 4.สถานศึกษากำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัด การศึกษาอย่างเหมาะสม ชัดเจนและเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐานการศึกษาที่ 2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐานการศึกษาที่ 2

มฐ. 2 1.เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ 2.มีแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพ แผนการศึกษาชาติ ความต้องการของชุมชน วิชาการที่เน้นผู้เรียนทุกคน พัฒนาครู ข้อมูลสารสนเทศ สภาพแวดล้อม 3.ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมือ 4.ติดตาม ประเมินผล, เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม

มฐ.2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารโรงเรียน ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 2.1.การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และ พันธกิจที่สถานศึกษา กำหนดชัดเจน  แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา  แผนปฏิบัติการ ประจำปี  ระบบบริหาร จัดการสารสนเทศ ในโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน ครู ,คณะกรรมการ สถานศึกษา - ในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษามีขั้นตอนดำเนินการอย่างไร บ้าง ? - ใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ?

มฐ.2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารโรงเรียน ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 2.2.การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1)วางแผนพัฒนาวิชาการ 2)วางแผนพัฒนาครู และบุคลากร 3)วางแผนการบริหาร และจัดทำสารสนเทศ  แผน/โครงการ พัฒนาวิชาการ พัฒนาครู/บุคลากร  แผนการนิเทศ ติดตามการประเมิน ผลของสถานศึกษา  คำสั่งคณะกรรม กรรมการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - มีการดำเนินการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ที่ตรงกันของ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างไรบ้าง ?  ผู้บริหาร,ครู - สถานศึกษานำ แผนสู่การปฏิบัติ อย่างไร ?

มฐ.2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารโรงเรียน ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 4)วางแผนจัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ สังเกต สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ห้องเรียน ห้องพิเศษ ว่าใช้คุ้มค่า เอื้อต่อการเรียนรู้หรือไม่

มฐ.2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารโรงเรียน ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 2.3.การมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพและ ได้มาตรฐาน

มฐ.2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารโรงเรียน ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 2.3.การมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพและได้ มาตรฐาน  บันทึก การประขุมของ คณะกรรมการ สถานศึกษา - คณะกรรมการ สถานศึกษาเข้ามา มีส่วนร่วมต่อผล การดำเนินการ ของสถานศึกษาหรือไม่? อย่างไร ?

ผู้ประเมิน : แบบการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม มาตรฐานที่ 3 ผู้ประเมิน : แบบการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม มาตรฐานที่ 3 ตรวจสอบเอกสาร / หลักฐานตามสภาพจริง  แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ……………...........................................................................................  แผนปฏิบัติการประจำปี ..........................................................................................................  ระบบบริหารจัดการสารสนเทศในโรงเรียน ........................................................................................................  แผน/โครงการพัฒนาวิชาการ .......................................................................................................

ผู้ปฏิบัติ : บัญชีงบหน้าการพัฒนาบุคลากร ชื่อครูผู้สอน รายการที่ไปพัฒนา วัน เวลา สถานที่ หลักฐาน

การตัดสินผลประเมินตาม มฐ.2 1.การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน 2.การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 3.การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและการร่วมรับผิดชอบ ต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 4.การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

ค้างคาวกับปลาช่อนเป็นอะไรกัน ? อิฐอะไรเห่าได้ ? ค้างคาวกับปลาช่อนเป็นอะไรกัน ? เนื้อสัตว์อะไรเอ๋ยกินแล้วปลอดภัยที่สุด ? ไก่ต้มร้องเพลงว่าอะไร ?

การตัดสินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาโดยภาพรวม

มฐ.1 มฐ.2 มฐ.3 มฐ.4 ดีเยี่ยม ดี ค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบ ระดับชาติ สูงขึ้น ระดับคุณภาพ มฐ.1 มฐ.2 มฐ.3 มฐ.4 ดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบ ระดับชาติ สูงขึ้น วางแผน, ดำเนินการตามแผน ตรวจสอบผล และปรับปรุง แก้ไขงาน ให้ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง ออกแบบและจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป ตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายให้ ความร่วมมือ ในการดำเนินการประกันคุณภาพเป็นอย่างดี ดี

เป้าหมายการประชุม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล สามารถออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือการนำเสนอข้อมูลที่เกิดจากการปฏิบัติงานจริงของ โรงเรียนได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

นำความรู้จากการประชุมสู่การปฏิบัติ กลับไปโรงเรียนแล้วต้องทำอะไรบ้าง ? 1.ให้บุคลากรทุกท่านในโรงเรียน ศึกษามาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน, การประเมินแนวใหม่และบทบาทหน้าที่ของ โรงเรียนที่มีต่อการประกันคุณภาพ 2.ผู้ปฎิบัติ : เตรียมหลักฐานตามสภาพจริง ตามประเด็น การพิจารณาของแต่ละมาตรฐานการศึกษา และ เตรียมความพร้อมของนักเรียน ครูและผู้บริหารโรงเรียน

นำความรู้จากการประชุมสู่การปฏิบัติ 3.ผู้ประเมิน : ต้องประเมินแบบองค์รวม ตามเกณฑ์ นำข้อมูลมาสรุปจัดทำ SAR 4.รวบรวมหลักฐานทั้งหมด เก็บไว้เตรียมรับ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่

สวัสดี

มฐ.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็น การพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐานตามสภาพจริง สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม 3.3.การตรวจสอบ และประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ