สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2 คณะที่ 4 การบริหารจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
รูปแบบเงินกองทุนประกันสังคม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2 คณะที่ 4 การบริหารจัดการ ดอกพะยอม ดอกพิกุล ดอกสะเดาเทียม ดอกศรีตรัง ดอกชบา ดอกบานบุรี ดอกกาหลง นายแพทย์ดุษฎี คงตระกูลทรัพย์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านเวชกรรมป้องกัน สสจ.พัทลุง ประธานคณะที่ 4

1. การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ประเด็น การตรวจราชการ 3. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 4. การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 5. บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 6. การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 7. ตรวจสอบภายใน

การประเมินผลตัวชี้วัด ลำดัjบ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ผลการประเมิน 1. หน่วยงานผ่านการประเมิน ITA ระดับ 3 ระดับ 4 ผ่านเกณฑ์ 2. จัดซื้อยาร่วม/เวชภัณฑ์ฯ/วัสดุวิทย์/ วัสดุทันตกรรม >=20% 32.14% 3. หน่วยงานผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย การระบุสาเหตุการตายไม่แจ้งชัด <=25% 33.60% ไม่ผ่านเกณฑ์ 4. ประชากรเข้าถึงการแพทย์ฉุกเฉิน >95.5% 77.52% 5. หน่วยบริการวิกฤติด้านการเงิน ระดับ 7 <8% 2.57% 6. ผลการวิจัย/R2R นำไปใช้ประโยชน์ N/A

1.การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จังหวัด เป้าหมาย ผลงาน ผลการประเมิน พัทลุง ระดับ 3 ระดับ 5 ผ่านเกณฑ์ สงขลา ระดับ 4 ตรัง ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล รวม

2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา มูลค่าการจัดซื้อยาร่วม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด ผลการดำเนินงาน ผ่านเกณฑ์ ( ร้อยละ 32.14 ) สูงสุด 37.59% คือ จังหวัดสตูล ต่ำสุด 22% คือ จังหวัดตรัง มีการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาตามระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขฯพ.ศ. 2557 ครบทุกข้อ คือ 1. มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในทุกระดับ 2. มีกรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่สอดคล้องและลดหลั่นตามระดับสถานบริการเป้าหมายหรือเจตนารมณ์

ประเด็น การตรวจราชการ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 3. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัด จังหวัดและหน่วยบริการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล ประเด็น การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1. คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย - ร้อยละของการระบุสาเหตุการตายไม่แจ้งชัด (ill-define) ไม่เกินร้อยละ 25 2. คุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - คุณภาพข้อมูลเวชระเบียน การบันทึกข้อมูลและการวินิจโรคมีความครบถ้วน ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เป้าหมายพื้นที่ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ : คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย (ill-define) ปี 2559 ประเทศ เขต 12 ใน นอก เกณฑ์ 60 ill-define ( 9 ด.) (ต.ค.59 – มิ.ย. 60) 32 33.7 16.65 44.25 <=25% เขต Ill-define รวม สถานพยาบาล ใน นอก เขต 1 27.2 13.78 34.93 เขต 2 31.5 14.75 47.41 เขต 3 29.4 11.92 46.31 เขต 4 30.5 14.18 53.92 เขต 5 32.7 15.03 51.84 เขต 6 28.0 13.95 47.84 เขต 7 29.3 21.32 31.98 เขต 8 31.9 21.85 35.58 เขต 9 33.7 15.42 46.32 เขต 10 30.2 20.97 34.65 เขต 11 32.3 16.65 47.20 เขต 12 33.6 17.13 43.64 ประเทศ 15.56 42.93 ร้อยละการตายที่ระบุสาเหตุไม่แจ้งชัด ภาพรวม ใน-นอกสถานพยาบาล ของจังหวัด/ เขตสุขภาพที่ 12 และภาพรวมประเทศ ปี 2560 (ข้อมูล ต.ค.59-มิ.ย. 60: 9 เดือน) เกณฑ์ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอการพัฒนา การขาดความรู้ในการสรุปสาเหตุการตาย ทั้งบุคลากรทางการแพทย์และนายทะเบียนของมหาดไทย จังหวัด/เขต อบรมฟื้นฟูความรู้ให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ ส่วนกลางควรมีการพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตายร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (นายทะเบียน)

4. การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การบริหารจัดการ การแพทย์ฉุกเฉิน ภายในจังหวัด ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงาน การแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัด ประเด็น การตรวจ ราชการ ความครอบคลุมของ หน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม ระบบสารสนเทศการ แพทย์ฉุกเฉิน(ITEMS)

การบริหารจัดการภายในจังหวัด ผลการดำเนินงาน : ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาราง ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560 รายจังหวัด ลำดับ จังหวัด ผลงาน ปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 ผลงาน ปี 2560 ร้อยละ 1 จ. ตรัง 14,780 16,435 12,813 74.45 2 จ. พัทลุง 11,921 12,455 9,860 75.60 3 จ. สตูล 13,163 14,252 9,519 63.54 ๔ จ. สงขลา 25,555 27,344 22,791 79.47 ๕ จ. ปัตตานี 7,688 10,733 8,406 74.79 ๖ จ. ยะลา 12,948 15,182 11,646 73.26 ๗ จ. นราธิวาส 12,497 14,396 10,934 72.53 รวมทั้งเขต๑๒ 94,898 110,894 85,969 77.52 รวมทั้งประเทศ 1,469,750 1,605,306 1,163,422 72.47 การบริหารจัดการภายในจังหวัด

5. บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ประเด็นตรวจราชการ : การบริหารจัดการการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติทางการเงิน เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 8 ของหน่วยบริการในพื้นที่ ผลการดำเนินงาน : ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2560 หน่วยบริการประสบปัญหาวิกฤติทางการเงินระดับ 7 มีจำนวน 2 แห่ง

1. จัดสรรแล้วหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย 7. สร้างเครือข่ายด้านการเงิน การคลังและพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. ตรวจสอบบัญชีหน่วยบริการ ทุกแห่ง ประเด็น การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 6. ประเมินประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานโดยใช้ดัชนี 7 ตัว (7 Plus) 3. คะแนนคุณภาพบัญชี ผ่านเกณฑ์ 5. การประเมินกระบวนการทำงาน (FAI) 4. การบริหารและกำกับแผนการเงินการคลัง(PlanFin60) ทุกเดือน

ประเด็นการตรวจราชการ แผนทางการเงิน (Planfin) มีความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้อง ผลต่างของแผนและผลไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่า mean+1SD ของหน่วยบริการเดียวกัน หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพมากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว (B) หน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์คะแนนคุณภาพบัญชีด้วยการตรวจทางอิเล็กทรอนิกส์ 100 คะแนน เครือข่าย CFO/Auditor ระดับเขต/จังหวัด ผ่านการอบรม

การให้คะแนนตามเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ 7 ตัว

ผลการประเมินตามประเด็นการตรวจราชการ หัวข้อการบริหารการเงินการคลัง ลำ ดับ ที่ จังหวัด 1.แผนทางการเงิน (Planfin) มีความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้อง 2.ผลต่างของแผนและผล ไม่เกิน ร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่าย สูงกว่า หรือต่ำกว่า แผนได้ ร้อยละ 5) 3.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ ไม่เกินค่าmean+1 SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน ≥ ร้อยละ 80 4.หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ มากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว ร้อยละ 50 5.หน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 6.หน่วยบริการผ่านเกณฑ์คะแนนคุณภาพบัญชีด้วยการตรวจทางอิเล็ก ทรอนิกส์ 100 คะแนน ร้อยละ 85 7.เครือข่าย CFO/Auditor ระดับเขต/จังหวัดผ่านการอบรม ร้อยละ 80 1 ตรัง 10 ไม่ผ่าน 7 6 2 พัทลุง 11 8 3 สตูล 4 สงขลา 17 15 5 ปัตตานี 12 ยะลา นราธิวาส 13 9 รวมเขต 12 78 58 59 คิดเป็นร้อยละ 100 74.36 75.64 ผลการประเมิน ผ่าน

จำนวนโรงพยาบาลที่มีวิกฤติระดับ 7 ปี 2558 - 2560 จังหวัด Risk Scoring (2558 - 2560) ปี 2558 (แห่ง) ปี 2559 (แห่ง) ปี 2560 (แห่ง) Q1 Q2 Q3 Q4 ตรัง 2 1 พัทลุง 5 3 4 สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวมเขต 12 12 8 16 10 14

สถานการณ์ทางการเงิน ไตรมาส 3 ปี 2560 ในเขต 12 ID Org CR QR Cash NWC NI+Depreciation 1 ตรัง 1.67 1.51 1.20 455,168,219.29 141,464,832.60 2 พัทลุง 1.26 1.13 0.86 105,845,638.22 75,787,237.82 3 สตูล 1.14 0.81 71,713,593.70 165,926,275.90 4 สงขลา 1.27 1.18 0.93 482,876,229.59 177,609,302.62 5 ปัตตานี 2.07 1.91 1.58 400,441,977.22 375,682,639.15 6 ยะลา 2.08 1.92 1.62 596,371,363.58 324,714,653.06 7 นราธิวาส 3.02 2.80 2.42 648,276,654.25 238,688,742.90 รวมเขต 12 1.80 1.66 1.35 2,760,693,675.85 1,499,873,684.05

ผลการประเมินประสิทธิภาพทางการเงิน มากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว ไตรมาส 3 ปี 2560 จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน ผ่าน ร้อยละ ไม่ผ่าน ตรัง 10 6 60.00 4 40.00 พัทลุง 11 8 72.73 3 27.27 สตูล 7 85.71 1 14.29 สงขลา 17 64.71 35.29 ปัตตานี 12 100 0.00 ยะลา 87.50 12.50 นราธิวาส 13 9 69.23 30.77 รวมเขต 12 78 59 75.64 19 24.36 3 อันดับแรกที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้า ไม่ผ่าน 60 แห่ง (ร้อยละ 76.92) 2. ประสิทธิภาพการทำกำไร ไม่ผ่าน 34 แห่ง (ร้อยละ 43.59) 3. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ไม่ผ่าน 30 แห่ง (ร้อยละ 38.46)

เป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90 ลำดับ จังหวัด ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ร้อยละ 1 ตรัง 90.80 96.00 99.60 2 พัทลุง 83.27 99.09 3 สตูล 72.57 91.71 90.86 4 สงขลา 80.94 93.29 96.82 5 ปัตตานี 82.17 95.00 93.00 6 ยะลา 72.25 96.25 91.75 7 นราธิวาส 74.46 89.23 94.15 เป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90 สำหรับการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง เดิมใช้ระบบการประเมินตนเอง แต่ในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้ใช้วิธีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันประเมินภายในเขต ทั้งนี้ทางด้านกระทรวงฯ ยังไม่ได้กำหนดเวลาในการประเมิน ทำให้คะแนน FAI ของปีงบประมาณ 2559 จึงยังไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน ดังนั้นข้อมูลคะแนน FAI ล่าสุดจึงเป็นผลลัพธ์ของการดำเนินงานในปีไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558

แผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย ปี 2560 (รอบ 9 เดือน) ลำดับ จังหวัด รายได้ แผนรายได้ ได้จริง ส่วนต่างรายได้ ร้อยละ 1 ตรัง 4,665,023,231.13 4,601,535,032.13 - 63,488,199.00 - 1.36 2 พัทลุง 938,341,448.64 1,031,152,010.36 92,810,561.72 9.89 3 สตูล 1,993,366,539.56 2,123,707,195.28 130,340,655.72 6.54 4 สงขลา 1,438,526,892.74 1,518,417,122.20 79,890,229.46 5.55 5 ปัตตานี 1,984,383,692.60 2,169,161,054.64 184,777,362.05 9.31 6 ยะลา 1,877,323,353.89 2,082,277,528.21 204,954,174.32 10.92 7 นราธิวาส 2,423,290,827.47 2,540,160,164.22 116,869,336.75 4.82 รวม 15,320,255,986.04 16,066,410,107.04 746,154,121.01 4.87 ภาพรวมเขต 12 ผ่านเกณฑ์ (ผลต่างไม่เกิน ± ร้อยละ 5)

แผนรายจ่าย เทียบกับรายจ่าย และส่วนต่างค่าใช้จ่าย ( 9 เดือน) ลำดับ จังหวัด รายจ่าย แผนรายจ่าย จ่ายจริง ส่วนต่าง คชจ. ร้อยละ 1 ตรัง 4,588,680,800.05 4,423,925,729.51 - 164,755,070.54 - 3.59 2 พัทลุง 840,897,444.86 865,198,984.46 24,301,539.60 2.89 3 สตูล 1,938,487,096.07 1,981,073,359.10 42,586,263.04 2.20 4 สงขลา 1,447,035,335.73 1,442,629,888.08 - 4,405,447.65 - 0.30 5 ปัตตานี 1,777,697,736.68 1,793,487,720.02 15,789,983.34 0.89 6 ยะลา 1,815,707,101.53 1,757,323,864.15 - 58,383,237.38 - 3.22 7 นราธิวาส 2,317,131,074.98 2,301,729,174.54 - 15,401,900.44 - 0.66 รวมเขต 12 14,725,636,589.90 14,565,368,719.86 - 160,267,870.03 - 1.09 ภาพรวมเขต 12 ผ่านเกณฑ์ (ผลต่างไม่เกิน ± ร้อยละ 5)

ต้นทุนต่อหน่วยบริการ (Unit Cost: OPD IPD) ไตรมาส 3 ปี 2560 จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน OP IP OP&IP จำนวน ร้อยละ ตรัง 10 100.00 พัทลุง 11 90.91 สตูล 7 3 42.86 5 71.43 สงขลา 17 15 88.24 9 52.94 ปัตตานี 12 4 33.33 2 16.67 0.00 ยะลา 8 6 75.00 62.50 37.50 นราธิวาส 13 46.15 15.38 1 7.69 รวมเขต 12 78 54 69.23 44 56.41 36

ผลการประเมินสัดส่วนของต้นทุนบริการ ต่อรายได้ค่ารักษาพยาบาล ไตรมาส 3 ปี 2560 จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน ผ่าน ร้อยละ ไม่ผ่าน ตรัง 10 7 70.00 3 30.00 พัทลุง 11 100.00 0.00 สตูล 4 57.14 42.86 สงขลา 17 15 88.24 2 11.76 ปัตตานี 12 91.67 1 8.33 ยะลา 8 นราธิวาส 13 15.38 84.62 รวมเขต 12 78 58 74.36 20 25.64

สรุปผลการตรวจสอบคุณภาพบัญชี จังหวัด A B C D รวม ตรัง 7 2 1 10 พัทลุง 6 4 11 สตูล สงขลา 17 ปัตตานี 12 ยะลา 8 นราธิวาส 5 13 31 22 20 78

เงินสดและเงินฝากธนาคาร ร้อยละ จังหวัด

ระบบลูกหนี้ ร้อยละ

ระบบวัสดุคงเหลือ ร้อยละ

ระบบสินทรัพย์ ร้อยละ

ระบบเจ้าหนี้ ร้อยละ

ระบบเงินกองทุน/เงินรับฝาก/รับล่วงหน้า ร้อยละ

ระบบรายได้ ร้อยละ

ระบบค่าใช้จ่าย ร้อยละ

ปัญหาและข้อเสนอแนะ

ระบบลูกหนี้และรายได้ค่ารักษาพยาบาล ปัญหา ผลจากการตรวจสอบพบว่า โรงพยาบาลส่วนใหญ่ บันทึกบัญชีรับรู้รายได้ค่ารักษาพยาบาลไม่ครบถ้วน และไม่ตรงกับข้อมูลการให้บริการ การจัดทำทะเบียนคุมรายตัวลูกหนี้ค่ารักษา ฯ ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน เนื่องจากข้อมูลการให้บริการมีมาก ไม่สามารถจัดทำทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัวได้ แนวทางแก้ไข 1. ควรกำหนดเป็นนโยบายจากส่วนกลางให้ทุกโรงพยาบาลมีศูนย์จัดเก็บรายได้ ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ และเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลทุกสิทธิ 2. พัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ และการทำทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล โดยการนำ โปรแกรมสำเร็จรูป มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดข้อมูลการจัดเก็บรายได้ และทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล

โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ

ระบบวัสดุคงคลัง โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ระบบการรายงานวัสดุคงคลังไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีการบันทึกของแถมในระบบบัญชีหรือบันทึกรายการของแถมโดยนำมาเฉลี่ยราคาต้นทุน กำหนดผู้รับผิดชอบคลังของแต่และประเภทจัดทำทะเบียนคุม และส่งรายงานการจัดซื้อ เบิกจ่าย และคงเหลือ ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยจัดส่งให้ งานบัญชีภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป รายการของแถมให้บันทึกเป็นรายได้บริจาคโดยอ้างอิงราคาตลาด

ระบบสินทรัพย์ถาวร โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ระบบการรายงานสินทรัพย์ถาวร การจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ การคิดค่าเสื่อมราคา ไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน บันทึกบัญชีผิดหมวดไม่เป็นไปตามคู่มือบัญชี เช่น นำมูลค่าสินทรัพย์ไปบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย กำหนดผู้รับผิดชอบในงานพัสดุให้จัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ และคิดค่าเสื่อมราคาให้ถูกต้อง และตรวจสอบยอดคงเหลือให้ตรงกับงานบัญชีทุกสิ้นเดือน ให้ผู้รับผิดชอบบัญชีบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามคู่มือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข

ระบบเจ้าหนี้ โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ระบบการรายงานเจ้าหนี้ การรับรู้เจ้าหนี้ ไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน ฝ่ายจัดซื้อที่เกี่ยวข้องจัดส่งเอกสารการจัดซื้อ/ ตรวจรับ ให้งานบัญชีอย่างช้าภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป งานบัญชีจัดทำทะเบียนคุมเจ้าหนี้ให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน งานบัญชีตรวจสอบยอดคงเหลือในทะเบียนคุมเจ้าหนี้ให้ตรงกับงบทดลองทุกสิ้นเดือน

โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ นักบัญชีที่มีอายุงานไม่เกินหนึ่งปีให้ไปเรียนรู้งานจากพี่เลี้ยงจังหวัด ในโรงพยาบาลระดับ A (มีจำนวนทั้งหมด 5 โรงพยาบาล และได้ระดับคะแนนระดับ D) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบัญชีให้ชัดเจนตามบทบาทหน้าที่ (เนื่องจากภาระงานต้องมีการจัดทำ ตรวจสอบ และจัดส่งรายงานให้ทันเวลา)

โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ 1. เกณฑ์และเครื่องมือประเมินในการตรวจราชการควรมีความพร้อมให้แล้วเสร็จทันตามกำหนดการตรวจราชการ 2. ควรมีผู้รับผิดชอบตรวจราชการจากกระทรวง ไม่ควรเป็นตัวแทนจากเขตหรือจังหวัด 3. เพิ่มนักบัญชีของหน่วยบริการ อย่างน้อยแห่งละ 2 คน

ปัจจัยความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้การสนับสนุน 2. มีโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลที่สมบูรณ์ 3. มีคณะติดตามพัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวังฯ พัฒนาการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีและข้อมูลรายงานทางการเงิน ประสานการจัดส่งรายงานทางการการเงิน ของหน่วยบริการ 4. มีการติดตามการส่งข้อมูลให้งานบัญชีตามกำหนดเวลา การบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามนโยบายบัญชี การจัดส่งงบการเงินทางเว็บไซต์ภายในกำหนด

ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ 7. ตรวจสอบภายใน วิเคราะห์ผลการดำเนินงานในเชิงปริมาณ (Output)และ เชิงคุณภาพ Outcome/Impact)เปรียบเทียบจังหวัด เขต และประเทศ ลำดับที่ ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ พัทลุง สงขลา ตรัง ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล ๑ การแก้ไขข้อทักท้วงของการตรวจราชการและนิเทศงานรอบที่ ๑ ครบ ๑๐๐% ๘๐% ๕๐% ๑๐๐% ๘๓.๓๓% ๖๖.๖๖% ๒ การเบิกจ่ายเงิน “โครงการสนับสนุนเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐  ไม่ได้รับจัดสรร หน่วยบริการมีการประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง ๕ มิติ ตามความเสี่ยงที่แท้จริง ๔ หน่วยบริการดำเนินการจัดทำรายงานแผน-ผลการพัฒนาองค์กร ๕ มิติ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายในฯ ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ครบทุกหน่วยบริการ ๕ รายงานผลการตรวจสบภายในตามแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ รอบ ๖ เดือน  ระดับผลการดำเนินงาน ๓ เป้าหมายระดับคะแนน ๕ = ๑๐๐ % ๖๐%

ปัญหาและข้อเสนอแนะ ปัญหา คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด มีภาระงานที่รับผิดชอบมาก ส่งผลต่อการจัดส่งรายงานต่างๆ อาจล่าช้าบ้าง ข้อเสนอแนะ - ปลูกจิตใต้สำนึกให้ข้าราชการมีความความตระหนักในการปฏิบัติงานให้ดำเนินการเป็นไปตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ - สนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบงานต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแนวทางหรือโอกาสในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น - นำข้อเสนอแนะหรือข้อทักท้วงจากการตรวจสอบภายใน มาพัฒนาหรือปรับปรุงงานให้ดีขึ้น