การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เขตเศรษฐกิจพิเศษ
นโยบาย “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” ของประเทศไทย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นโยบาย “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” ของประเทศไทย + เพิ่มความสามารถการแข่งขัน + ลดความเหลื่อมล้ำการพัฒนา + เสริมสร้างความมั่นคง พัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรกในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ พัฒนาฐานลงทุน ดึงดูด FDI ตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จในพื้นที่ จัดระเบียบและใช้ประโยชน์แรงงานต่างด้าว ตั้งศูนย์รวบรวมและรับซื้อสินค้าเกษตร SEZ
นิยาม วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นิยาม วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ บริเวณพื้นที่ที่ กนพ. กำหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งรัฐจะสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน สิทธิประโยชน์ ส่งเสริมการลงทุน การบริหารแรงงานต่างด้าวแบบไป-กลับ การให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และการอื่นที่จำเป็น นิยาม ดึงดูด FDI เพิ่มขีดความสามารถของประเทศ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และแก้ปัญหาความมั่นคง วัตถุประสงค์ สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ เน้นบริเวณชายแดนสำหรับระยะแรกโดยใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน สนับสนุน SMEs ไทยและการลงทุนต่อเนื่องของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน จัดระเบียบพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและสินค้าเกษตรลักลอบจากประเทศเพื่อนบ้าน กลยุทธ์ 1 2 3
พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 แห่ง พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 แห่ง ตาก 1 สงขลา 2 สระแก้ว 4 มุกดาหาร 3 ตราด 5 เชียงราย 8 กาญจนบุรี 10 หนองคาย 6 นครพนม 9 นราธิวาส 7 ระยะที่ 1: ในพื้นที่ 6 จังหวัด : ตาก สงขลา มุกดาหาร สระแก้ว ตราด หนองคาย ระยะที่ 2: ในพื้นที่ 4 จังหวัด : นราธิวาส เชียงราย นครพนม กาญจนบุรี 2
พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 1 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 1 ระยะที่ 1 ปี 2558 : 6 พื้นที่ชายแดน จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ ตาก อ.แม่สอด , อ.พบพระ , อ.แม่ระมาด 14 1,419.0 ตร.กม. 886,875 ไร่ สงขลา อ.สะเดา 4 552.3 ตร.กม. 345,187 ไร่ มุกดาหาร อ.เมือง , อ.หว้านใหญ่ , อ.ดอนตาล 11 578.5 ตร.กม. 361,542 ไร่ สระแก้ว อ.อรัญประเทศ , อ.วัฒนานคร 332.0 ตร.กม. 207,500 ไร่ ตราด อ.คลองใหญ่ 3 50.2 ตร.กม. 31,375 ไร่ หนองคาย อ.เมือง และ อ.สระใคร 13 473.67 ตร.กม. 296,042 ไร่ 3
พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ นราธิวาส อ.สุไหงโกลก อ.ตากใบ อ.แว้ง อ.ยี่งอ และ อ.เมือง 5 235.17 ตร.กม. 146,995.62 ไร่ เชียงราย อ.แม่สาย อ.เชียงแสน อ.เชียงของ 21 1,526.63 ตร.กม. 952,266.46 ไร่ นครพนม อ.เมือง อ.ท่าอุเทน 13 794.79 ตร.กม. 495,743.75 ไร่ กาญจนบุรี 2 260.79 ตร.กม. 162,993.75 ไร่ ระยะที่ 2 ปี 2559 : 4 พื้นที่ชายแดน 4
กนอ. กนอ. กนอ. กนอ. กนอ. บทบาทของ กนอ. ในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) (คำสั่ง คสช. ที่ 1/2558 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558) คณะอนุกรรมการด้านสิทธิประโยชน์ ขอบเขตพื้นที่ และศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานคณะอนุกรรมการ พิจารณาวิเคราะห์ความเหมาะสมและกำหนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และกำหนดการให้สิทธิประโยชน์ คณะอนุกรรมการศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านแรงงาน การสาธารณสุข และความมั่นคง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เป็นประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดแนวทางและขับเคลื่อนการจัดระบบแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในลักษณะไป-กลับ คณะอนุกรรมการด้านโครงสร้างพื้นฐานและด่านศุลกากร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานคณะอนุกรรมการ จัดทำแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและบริเวณใกล้เคียง คณะอนุกรรมการด้านการจัดหาที่ดินและบริหารจัดการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดพื้นที่ของทางราชการที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และจัดทำผังการใช้ที่ดินและกำหนดแผนการนำที่ดินของทางราชการมาใช้ประโยชน์ กนอ. กนอ. กนอ. คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) (คำสั่ง คสช. ที่ 2/2558 ลงวันที่ 3 เมษายน 2558) คณะอนุกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระดับพื้นที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานคณะอนุกรรมการ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ) เป็นประธานคณะอนุกรรมการ กนอ. กนอ. 7
การดำเนินการในปี 2559 (ได้รับงบประมาณ 21 ล้านบาท) โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน กนอ.ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ กนพ. ให้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 3 พื้นที่ แผนที่ท้ายคำสั่ง คสช.ที่17/2558 พื้นที่ตำบล ท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก พื้นที่ 837.37 ไร่ ป่าไร่ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว พื้นที่ 660.54 ไร่ พื้นที่ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พื้นที่ 1,121.5 ไร่ การดำเนินการในปี 2559 (ได้รับงบประมาณ 21 ล้านบาท) 1. การศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสม (เชิงลึก) 2.การจัดทำแนวคิดการออกแบบ (Conceptual Design) 3.การจัดทำผังแม่บทการพัฒนานิคมฯ (Master Plan) 4.ศึกษาและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และออกแบบรายละเอียดงานก่อสร้าง (Detailed Design)โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 3 พื้นที่(สระแก้ว ตาก สงขลา) **จังหวัดหนองคายมีนิคมฯร่วมดำเนินงานแล้วจึงไม่ได้ดำเนินการศึกษา Output : FS , Conceptual Design , Master Plan, Detail Design , EIA Outcome : เพิ่มการจ้างงานและสร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้กับประชาชนในภูมิภาค แก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวลักลอบเข้ามายังพื้นที่ตอนใน แก้ไขปัญหาความแออัดบริเวณชายแดน
พื้นที่ 660.54 ไร่ สระแก้ว ตาก พื้นที่ 837.37 ไร่ สงขลา Output ณ มีนาคม 2559 1. รายงานการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสม (FS) 2.รายงาน EIA 3.ปรับพื้นที่โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 4.มีสำนักงานพัฒนาและประชาสัมพันธ์โครงการ 5.มีผู้ประกอบการลงนามในสัญญาจองพื้นที่อย่างน้อย 1 ราย *ของบประมาณตามแผนบูรณาการประจำปีงบประมาณ 2560 แผนบูรณาการเรื่องการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจำนวน 280 ล้านบาท เพื่อทำการก่อสร้างโครงการ (ค่าพัฒนาโครงการรวม 700 ล้านบาท แบ่งการพัฒนา 2 ปี (60-61)) ตาก Output ณ มีนาคม 2559 1. รายงานการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสม (FS) 2.รายงาน EIA 3. มีสำนักงานพัฒนาและประชาสัมพันธ์โครงการ 4.มีผู้ประกอบการสนใจติดต่อ กนอ.อย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญอย่างน้อย 3 ราย * ปัญหาการให้ได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน/การคัดค้าน ** คาดว่าจะเปิดดำเนินการได้ประมาณ กรกฎาคม 2561 พื้นที่ 837.37 ไร่ สงขลา Output ณ มีนาคม 2559 1. รายงานการศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสม (FS) 2.รายงาน EIA 3. มีสำนักงานพัฒนาและประชาสัมพันธ์โครงการ 4.มีผู้ประกอบการสนใจติดต่อ กนอ.อย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญอย่างน้อย 3 ราย * ปัญหาการให้ได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน/การคัดค้าน ** คาดว่าจะเปิดดำเนินการได้ประมาณ กรกฎาคม 2561 พื้นที่ 1,121.5 ไร่
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งภายในและภายนอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อสนับสนุนการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจและเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นๆ พื้นที่จังหวัด โครงสร้างพื้นฐานภายนอก ท่าเรือน้ำลึก ท่าอากาศยาน รถไฟ ทางหลวงพิเศษ ถนน ด่านข้ามแดน ศูนย์กระจายสินค้า โครงข่ายโทรคมนาคม เขตเศรษฐกิจพิเศษ โครงสร้างพื้นฐานภายใน ระบบไฟฟ้า ระบบน้ำประปา ระบบขนส่ง ระบบคมนาคม ระบบโทรคมนาคมสื่อสาร ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบควบคุมและบำบัดมลภาวะ ระบบการเงิน ที่พักอาศัย ศูนย์วิจัยพัฒนา พื้นที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นิคมอุตสาหกรรม เขตปลอดอากร คลังทัณฑ์บน เขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป้าหมาย กิจกรรมที่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ในพื้นที่หรือประเทศได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิตเป้าหมาย ของประเทศ การค้าและโลจิสติกส์ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การใช้พื้นที่ภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ นิคมอุตสาหกรรม/ เขตปลอดอากร/ คลังทัณฑ์บน พื้นที่สนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐานภายใน/ ปัจจัยสนับสนุนภายใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ โครงสร้างพื้นฐานภายนอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคเอกชนเป็นผู้พัฒนา ภาครัฐเป็นผู้พัฒนา
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตาก 8
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตาก ที่ตั้งโครงการ 1 2/1 3 อำเภอ 14 ตำบล พื้นที่ 1,419.0 ตร.กม. (886,875 ไร่) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตาก 10
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตาก 1 2 ที่ตั้ง ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ที่ดินอยู่ในความดูแล กรมธนารักษ์ ขนาดพื้นที่ ระยะที่ 1 836.72 ไร่ 1 2/1 ความเชื่อมโยงและลักษณะของพื้นที่ ห่างจากทางหลวง AH1,EWEC ประมาณ 7 กม. ห่างจากสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ แห่งที่ 1 ประมาณ 8 กม. ติดกับพื้นที่ก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาร์ แห่งที่ 2 มีถนนชุมชน (เป็นถนนลูกรังและลาดยางบางส่วน) เข้าถึงพื้นที่ สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ลาดเนิน ปัจจุบันใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อที่อยู่อาศัย และการเกษตร ได้แก่ ปลูกอ้อย มันสำปะหลัง และข้าวโพด มีแหล่งน้ำ ติดกับแม่น้ำเมย มีระบบไฟฟ้าเข้าถึงพื้นที่ 13
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ประมาณการมูลค่าพัฒนา 835 ล้านบาท โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตาก ผังนิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเป้าหมาย การให้บริการโลจิสติกส์ ได้แก่ คลังสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้าและยานพาหนะ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม สินค้าแปรรูปเกษตร(ข้าวโพด/ผัก) สินค้าอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรมและกิจการบริการอื่นๆ ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ (ไร่) สัดส่วน (%) 1. พื้นที่ที่ก่อให้เกิดรายได้ 551.49 65.91% 1.1 เขตอุตสาหกรรม 261.11 31.21% 1.2 ศูนย์โลจิสติกส์และกระจาย สินค้า 276.10 33.00% 1.3 เขตพาณิชยกรรม 14.28 1.71% พื้นที่ระบบสาธารณูปโภคและ สิ่งอำนวยความสะดวก 173.64 20.75% 3. พื้นที่สีเขียวและแนวกันชน 111.59 13.34% รวมพื้นที่ 836.72 100% ประมาณการมูลค่าพัฒนา 835 ล้านบาท
กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย (Target Industry) 1) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม แปรูปสินค้าเกษตร (ข้าวโพด/ผัก) สินค้าอุปโภคบริโภค 4) Logistics กลุ่มอุตสาหกรรม ตาก 1. เกษตรและอาหารแปรรูป 2. ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 3. สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 4. เครื่องเรือน 5. อัญมณีและเครื่องประดับ 6. เครื่องมือแพทย์ 7. ยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน 8. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9. ผลิตภัณฑ์พลาสติก 10. ยา 11. กิจการโลจิสติกส์ 12. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 13. กิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว 15
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว 17
พื้นที่เช่าเพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตาก ที่ตั้งโครงการ 654.79 ไร่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว 660.56 ไร่ ที่ดินที่ให้ กนอ.เช่าเพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ขนาดเนื้อที่ประมาณ 660-2-23 ไร่ 21
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว ที่ตั้ง ตำบลป่าไร่ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ที่ดินอยู่ในความดูแล กรมธนารักษ์ พื้นที่ 660.56 ไร่ ความเชื่อมโยงและลักษณะของพื้นที่ ติดกับถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3397 ห่างจากชุมชนอรัญประเทศ โดยถนนทางหลวง 3397 ประมาณ 10 กิโลเมตร ห่างจากจุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก ประมาณ 14 กิโลเมตร ห่างจากแนวพรมแดนระหว่างไทย-กัมพูชา ประมาณ 5 กิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบ ปัจจุบันใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อที่อยู่อาศัย และการเกษตร ได้แก่ ปลูกอ้อย มันสำปะหลัง และข้าวโพด พื้นที่ติดกับถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3397 มีระบบไฟฟ้า พื้นที่อยู่ในแผนงานก่อสร้างขยายขอบเขตการให้บริการประปา ปีงบประมาณ 2559 ไม่มีชุมชนในพื้นที่ 654.79 ไร่ 22
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว ผังนิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเป้าหมาย การให้บริการโลจิสติกส์ และศูนย์กระจายสินค้า แปรรูปสินค้าเกษตร (มันสำปะหลัง/ข้าวโพด/อ้อย โรงงาน) อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่มห่ม สินค้าอุปโภคและบริโภค อุตสาหกรรมและกิจการบริการอื่นๆ ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ (ไร่) สัดส่วน (%) 1. พื้นที่ที่ก่อให้เกิดรายได้ 482.16 72.99% 1.1 เขตอุตสาหกรรม 296.23 44.84% 1.2 ศูนย์โลจิสติกส์และกระจายสินค้า 162.21 24.56% 1.3 เขตพาณิชยกรรม 23.72 3.59% 2. พื้นที่ระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก 104.33 15.80% 3. พื้นที่สีเขียวและแนวกันชน 74.07 11.21% รวมพื้นที่ 660.56 100% ประมาณการมูลค่าพัฒนา 691 ล้านบาท ประมาณการมูลค่าพัฒนา 691 ล้านบาท
กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย (Target Industry) Logistics 2) แปรรูปสินค้าเกษตร (มันสำปะหลัง/ข้าวโพด/อ้อย โรงงาน) 3) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 4) สินค้าอุปโภคและบริโภค กลุ่มอุตสาหกรรม สระแก้ว 1. เกษตรและอาหารแปรรูป 2. ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 3. สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 4. เครื่องเรือน 5. อัญมณีและเครื่องประดับ 6. เครื่องมือแพทย์ 7. ยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน 8. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9. ผลิตภัณฑ์พลาสติก 10. ยา 11. กิจการโลจิสติกส์ 12. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 13. กิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว 24
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสงขลา 26
พื้นที่พัฒนา(ที่ดิน) เพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา ที่ตั้งโครงการ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสงขลา ที่ดินที่ให้ กนอ.เช่าเพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ขนาดเนื้อที่ประมาณ 1,121.53ไร่ 29
โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสงขลา ที่ตั้ง ต.สำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา ที่ดินอยู่ในความดูแล กรมธนารักษ์ พื้นที่ 1,121.53 ไร่ ความเชื่อมโยงและลักษณะของพื้นที่ ห่างจากชายแดนที่ด่านสะเดา ประมาณ 2 กม. ห่างจาก สนง. ด่านศุลกากรสะเดา 500 เมตร ติดกับพื้นที่ตั้งด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ ติดถนนกาญจนวนิชย์ (2เลน) สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่ลาดเนิน ปัจจุบันใช้ประโยชน์เพื่ออยู่อาศัยและเป็นสวนยางพารา มีแหล่งน้ำใกล้พื้นที มีระบบไฟฟ้าเข้าถึงพื้นที่ 30
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ประมาณการมูลค่าพัฒนา 998 ล้านบาท โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสงขลา ผังนิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเป้าหมาย การให้บริการโลจิสติกส์ ศูนย์ขนถ่ายสินค้า และคลังสินค้า อุตสาหกรรมยางพาราและผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่องกับยางพารา อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารแปรรูปอาหาร ฮาลาล อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ (ไร่) สัดส่วน (%) 1. พื้นที่ที่ก่อให้เกิดรายได้ 815.17 72.69% 1.1 เขตอุตสาหกรรม 545.38 48.63% 1.2 ศูนย์โลจิสติกส์และกระจายสินค้า 239.31 21.34% 1.3 เขตพาณิชยกรรม 30.48 2.72% 2. พื้นที่ระบบสาธารณูปโภคและสิ่ง อำนวยความสะดวก 116.22 21.08% 3. พื้นที่สีเขียวและแนวกันชน 190.14 6.23% รวมพื้นที่ 1,121.53 100% ประมาณการมูลค่าพัฒนา 998 ล้านบาท 24
กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมาย (Target Industry) Logistics บริการ แปรรูปยางพาราขั้นกลางและปลายน้ำ กลุ่มอุตสาหกรรม สงขลา 1. เกษตรและอาหารแปรรูป 2. ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 3. สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 4. เครื่องเรือน 5. อัญมณีและเครื่องประดับ 6. เครื่องมือแพทย์ 7. ยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน 8. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9. ผลิตภัณฑ์พลาสติก 10. ยา 11. กิจการโลจิสติกส์ 12. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 13. กิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว 32
สิทธิประโยชน์ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 4/2557) กิจการทั่วไปตามบัญชีกิจการที่ให้การส่งเสริม กิจการเป้าหมายที่กำหนด ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 3 ปี จากเกณฑ์ปกติ กรณีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปีแล้ว (กลุ่ม A1 และ A2) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้ร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี ยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุด 8 ปี ลดหย่อนภาษีเงินได้ร้อยละ 50 อีก 5 ปี หักค่าขนส่ง ไฟฟ้า และประปา 2 เท่า 10 ปี หักค่าติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 เหมือนกัน ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ผลิตเพื่อส่งออก สิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร (Non-Tax Incentives) อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือถูกกฎหมาย ** ต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริม ภายในปี 2560 **
Roadmap ในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 3 พื้นที่ ปีงบ ประมาณ แนวทางการดำเนินงาน 2559 จัดทำแนวคิดการออกแบบ (Conceptual Design) นิคมอุตสาหกรรม ศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) ออกแบบรายละเอียดงานก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรม 2560 ก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรม 2561 2562 เริ่มดำเนินการ