การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์วิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำ กรณีศึกษา : จังหวัดพิษณุโลก An Analysis of Water Pollution Risk Areas Using GIS A Case Study in Phitsanulok Province ธนกฤต ปานดำ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ดวงเดือน อัศวสุธีรกุล
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 1
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 2
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 18.8% 34.3% 37.5% 3 แหล่งที่มา : สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับภัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2556
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดมลพิษทางน้ำในจังหวัดพิษณุโลก ความหนาแน่นของประชากร 78.91 คน/ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านทั้งหมด 1,048 หมู่บ้าน จำนวนผู้ถือครองสารเคมีทางการเกษตร ในระดับมากที่สุด ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรรายจังหวัด ในระดับมาก ปริมาณการเลี้ยงสัตว์ ในระดับมาก 4 แหล่งที่มา : สำนักงานจังหวัดพิษณุโลก, 2557 อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์เชิงพื้นที่สำหรับการหาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำ ในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) วิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำ ในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อจัดทำข้อมูลแสดงพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำในจังหวัดพิษณุโลก 5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำในจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปเฝ้าระวังปัญหามลพิษทางน้ำในพื้นที่เสี่ยงได้ 6
วิธีดำเนินงานวิจัย ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ เตรียมชั้นข้อมูล 1 ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ 2 เตรียมชั้นข้อมูล 3 ให้ค่าถ่วงน้ำหนัก 4 วิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงด้วยโปรแกรม QGIS 7
ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ คุณภาพแหล่งน้ำ ความสูงและความลาดชัน พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก 8
ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ (ต่อ) การใช้ประโยชน์ที่ดิน ปริมาณและจำนวนผู้ถือครองสารเคมีทางการเกษตร ความหนาแน่นของสัตว์ 9
ศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ (ต่อ) โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด ความหนาแน่นของประชากร 10
ปัจจัยและแหล่งข้อมูล หน่วยงาน คุณภาพแหล่งน้ำ กรมควบคุมมลพิษ ความสูงของพื้นที่ กรมแผนที่ทหาร ความลาดชันของพื้นที่ ได้จากการวิเคราะห์และประมวลผล พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก กลุ่มป้องกันภัยธรรมชาติและความเสี่ยงทางการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร สำนักงานสถิติแห่งชาติ จำนวนผู้ถือครองสารเคมีทางการเกษตร ความหนาแน่นของสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด ความหนาแน่นของประชากร 11
แผนที่แสดงชั้นข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ 12
แผนที่แสดงชั้นข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ (ต่อ) 13
แผนที่แสดงชั้นข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ (ต่อ) 14
แผนที่แสดงชั้นข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ (ต่อ) 15
แผนที่แสดงชั้นข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ (ต่อ) 16
ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552 ตารางค่าถ่วงน้ำหนัก ปัจจัย ประเภทข้อมูล ค่าถ่วงน้ำหนัก ค่าคะแนน คะแนนรวม 1) คุณแหล่งภาพน้ำ ในเขต 20 5 100 นอกเขต 2.5 50 2) ความลาดชัน น้อยกว่า 5% 13 65 5% - 15% 4 52 15% - 25% 3 39 25% - 35% 2 26 มากกว่า 35% 1 17 ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
ตารางค่าถ่วงน้ำหนัก (ต่อ) ปัจจัย ประเภทข้อมูล ค่าถ่วงน้ำหนัก ค่าคะแนน คะแนนรวม 3) โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม 13 5 65 โรงสี/ท่าข้าว 2.5 32.5 4) พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก (ในรอบ 10 ปี) พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก เป็นประจำ 8-10 ครั้ง 8 40 พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก บ่อยครั้ง 4-7ครั้ง 3 24 พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก เป็นครั้งคราว 3 ครั้ง 1 18 ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
ตารางค่าถ่วงน้ำหนัก (ต่อ) ปัจจัย ประเภทข้อมูล ค่าถ่วงน้ำหนัก ค่าคะแนน คะแนนรวม 5) ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร (ตัน) น้อยที่สุด 8 1 น้อย 2 16 ปานกลาง 3 24 มาก 4 32 มากที่สุด 5 40 6) ความหนาแน่นประชากร (คน) 19 ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
ตารางค่าถ่วงน้ำหนัก (ต่อ) ปัจจัย ประเภทข้อมูล ค่าถ่วงน้ำหนัก ค่าคะแนน คะแนนรวม 7) ความสูง (เมตร) น้อยกว่า 200 4 5 20 200 - 400 16 400 - 600 3 12 600 - 800 2 8 มากกว่า 800 1 8) ความหนาแน่นของสัตว์ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 20 ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
ตารางค่าถ่วงน้ำหนัก (ต่อ) ปัจจัย ประเภทข้อมูล ค่าถ่วงน้ำหนัก ค่าคะแนน คะแนนรวม 9) จำนวนผู้ถือครองที่ใช้สารเคมีทางการเกษตร (คน) น้อยที่สุด 3 1 8 น้อย 2 16 ปานกลาง 24 มาก 4 32 มากที่สุด 5 40 10) การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่เกษตรกรรม 15 พื้นที่แหล่งน้ำ 12 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 9 พื้นที่ป่าไม้ 6 พื้นที่อื่นๆ 21 ปรับปรุงจาก อริสรา เจริญปัญญาเนตร, 2552
วิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงด้วยโปรแกรม QGIS DEM_utm Phitsanulok DEM_warp Slope Slope_Ter Slope_PNL DEM_PNL River_Buf River_Join River_PNL Factory Factory_Join Factory_PNL Flooded Flooded_Join Flooded_PNL Chemical Chemical_Join Chemical_PNL Population Pop_Join Pop_PNL Animal Animal_Join Animal_PNL Holder Holder_Join Holder_PNL Land use Landuse_Join Landuse_PNL RISK River RISK_vac RISK_Clip water pollution risk areas Phitsanulok Clip&Mark&Warp Raster Calculator Join & Save as Rasterize Buffer width 500 m. Polygonize Raster Calculator (+) Clip & Join attributes by location Terrain Analysis Add field & Calculation 22 แผนผังการวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำ
ผลการวิเคราะห์ ค่าต่ำสุด (Min) = 17 ค่าสูงสุด (Max) = 361 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 39 ค่าเฉลี่ย (Mean) = 176 23
เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งค่าคะแนนแต่ละระดับความเสี่ยง ไม่มีความเสี่ยง : ระหว่าง Min ถึง (Mean – 2*S.D.) ความเสี่ยงระดับต่ำมาก : ระหว่าง (Mean – 2*S.D.) ถึง (Mean - S.D.) ความเสี่ยงระดับต่ำ : ระหว่าง (Mean - S.D.) ถึง Mean ความเสี่ยงระดับปานกลาง : ระหว่าง Mean ถึง (Mean + S.D.) ความเสี่ยงระดับสูง : ระหว่าง (Mean + S.D.) ถึง (Mean + 2*S.D.) ความเสี่ยงระดับสูงมาก : ระหว่าง (Mean + 2*S.D.) ถึง Max 24
ช่วงค่าคะแนนแต่ละระดับความเสี่ยง ระหว่าง 17 ถึง 98 ไม่มีความเสี่ยง ระหว่าง 99 ถึง 137 ต่ำมาก ระหว่าง 138 ถึง 176 ต่ำ ระหว่าง 177 ถึง 215 ปานกลาง ระหว่าง 216 ถึง 254 สูง ระหว่าง 255 ถึง 361 สูงมาก 25
26
สรุปผลการวิจัย พื้นที่ที่ไม่มีความเสี่ยง มีเนื้อที่ทั้งหมด 11.77 ตร.กม. พื้นที่ความเสี่ยงระดับต่ำมาก มีเนื้อที่ทั้งหมด 813.16 ตร.กม. พื้นที่ความเสี่ยงระดับต่ำ มีเนื้อที่ทั้งหมด 3,662.65 ตร.กม. พื้นที่ความเสี่ยงระดับปานกลาง มีเนื้อที่ทั้งหมด 3,348.43 ตร.กม. พื้นที่ความเสี่ยงระดับสูง มีเนื้อที่ทั้งหมด 2,232.34 ตร.กม. พื้นที่ความเสี่ยงระดับสูงมาก มีเนื้อที่ทั้งหมด 519.88 ตร.กม. 27
กราฟแสดงร้อยละของเนื้อที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำแต่ละระดับความเสี่ยง 4.91 0.11 7.68 21.08 34.59 31.62 28
5 อำเภอที่มีโอกาสเกิดมลพิษทางน้ำมากที่สุด อ.บางระกำ มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 862.12 ตร.กม อ.พรหมพิราม มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 724.58 ตร.กม อ.เมืองพิษณุโลก มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 490.80 ตร.กม อ.วังทอง มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 321.49 ตร.กม อ.บางกระทุ่ม มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 241.80 ตร.กม 29
5 ตำบลที่มีโอกาสเกิดมลพิษทางน้ำมากที่สุด ต.ชุมแสงสงคราม อ.บางระกำ มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 256.10 ตร.กม ต.มะต้อง อ.พรหมพิราม มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 217.20 ตร.กม ต.ดงประคำ อ.พรหมพิราม มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 168.57 ตร.กม ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 128.03 ตร.กม ต.ท่าช้าง อ.พรหมพิราม มีพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 118.74ตร.กม 30
จำนวนหมู่บ้านในพื้นที่แต่ละระดับความเสี่ยง พื้นที่ที่ไม่มีความเสี่ยง = ไม่มีหมู่บ้านในพื้นที่ พื้นที่ความเสี่ยงระดับต่ำมาก = 7 หมู่บ้าน พื้นที่ความเสี่ยงระดับต่ำ = 132 หมู่บ้าน พื้นที่ความเสี่ยงระดับปานกลาง = 393 หมู่บ้าน พื้นที่ความเสี่ยงระดับสูง = 345 หมู่บ้าน พื้นที่ความเสี่ยงระดับสูงมาก = 104 หมู่บ้าน 31
32
5 หมู่บ้านที่มีโอกาสเกิดมลพิษทางน้ำมากที่สุด บ้านย่านยาว ต.วงฆ้อง อ.พรหมพิราม ค่าคะแนนความเสี่ยง = 311 บ้านวงฆ้อง ต.วงฆ้อง อ.พรหมพิราม ค่าคะแนนความเสี่ยง = 311 บ้านท่านางงาม ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ ค่าคะแนนความเสี่ยง = 302 บ้านคลองกลับพวง ต.วังอิทก อ.บางระกำ ค่าคะแนนความเสี่ยง = 300 บ้านวังเป็ด ต.บางระกำ อ.บางระกำ ค่าคะแนนความเสี่ยง = 298 33
ข้อเสนอแนะ ชั้นข้อมูลหมู่บ้านยังไม่มีขอบเขตที่แน่ชัดทำให้ยังไม่สามารถวิเคราะห์เชิงลึกไปถึงระดับหมู่บ้านได้ หากต้องการมุ่งเน้นหรือเฉพาะเจาะจงไปในพื้นที่ หรือหมู่บ้านต้องศึกษาในเชิงลึกในครั้งต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ใช้ในการวิเคราะห์ในครั้งนี้เป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2556 เพียงปีเดียว การวิเคราะห์ข้อมูลที่ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 3 – 5 ปี สามารถทำให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ความเสี่ยงได้ดีขึ้น 34